วันอาทิตย์ที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2557

กสิน ชมรมสุวรรณกุมกาม เริ่ม วิปริต

ดิฉันเขียนให้อ่านแล้วไม่อ่าน ก็เลยไม่รู้ว่าเขียนอย่างไรอ่านแล้วงง ทำให้สับสน เหมือนคนสองโลก เดี๋ยวก็เป็นคนในอดีต เดี๋ยวก็เหมือนคนในยุคอนาคต 
เรื่องทั้งหลายเขียนจากการสื่อสาร ไม่ใช่องค์อย่างบางท่านเข้าใจผิด
การย้อนเวลาได้นั้น ทำได้เฉพาะบางท่าน เท่านั้น
ย้อนเวลาได้ มีอิทธิวิทธิญาณรึ...แล้วถ้าเป็นความผิดในการปฏิบัติล่ะครับ เคยคิดไหมว่าจะทำผิดล่ะครับ อารมณ์กรรมฐาน ถ้าไปเห็นนั่นเห็นนี่ถือว่าวิบัติแล้ว...ต้องมีนิมิตที่ทำเป็นอารมณ์ อย่างว่านะครับ คุณมีอะไรที่เหนือเกินชาวบ้าน ผมเข้าใจครับ


การได้ฝึกกสิณกรรมฐานดินน้ำไฟลม โดยเฉพาะ บอกได้ด้วยดวงชาตาว่า
เหมาะกับกรรมฐานกองไหน อันนี้ ไม่มีศาสตร์ไหนบอกได้ ค่ะ
มันแค่บอกได้ถึงความน่าจะเป็น แต่จริงๆแล้วคนทุกคนมีจริตครบทั้ง ๖ นั่นแหละครับ แต่ว่าในขณะไหนๆจริตไหนจะปรากฎชัด และอีกอย่างคือตัวเองสะสมอัทธยาศัยอะไรมา แล้วคนที่จะมาทำกรรมฐานก็ไม่ใช่ง่ายๆหลอกครับ ถ้ายิ่งเป็นพวกทวิเหตุมาเกิดก็หมดสิทธิ์ที่จะได้ฌานอยู่แล้ว ถึงเป็นพวกติเหตุมาเกิดก็ใช่ว่าจะทำได้ง่ายๆด้วย..มันไม่ง่าย แล้วการสอนก็ต้องระวัง ถ้าสอนผิดไปกลายเป็นธรรมของตัวเอง ไม่ใช่ธรรมะของพระพุทธเจ้าอีกนะจ๊ะ

ทุกสิ่งอย่าง ก็เกิดจากความเชื่อ ที่แล้วแต่ปัญญาผู้ใดมีจะพิจารณา
ปัญญาในภาษาของสุวรรณโคมคำ แปลว่า แสงสว่าง
ดอกบัวที่โผล่พ้นจากน้ำบ้างแล้ว เมื่อได้รับแสงสว่างจากอาทิตย์ ก็จะเพ่งบานได้เฃ่นนั้น 
แต่บางคนก็กลับจมอยู่กับพยัพแดดนะครับ 

แสนสวาท หาคนมาเรียน ตั้งแต่ปี 2551 แล้วล่ะ 
ปี51 พระอาจารย์ธรรมบาลท่านมา คุณได้พบท่านหรือเปล่าหละจ๊ะ ไปอุปโลกพระที่กาญจนบุรี ชื่อหลวงพ่อ... มาเป็นบรมจารย์ สายสุวรรณโคมคำอีกแล้ว...เอ้ย...
ตั้งแต่เริ่มเข้ามาเรียนที่นี่ครั้งแรกแล้ว ไม่ใช่เพิ่งมาทำตอนที่มูลนิธิฯ แยกออกไป
ฉะนั้น หลายคน ก็ตามแสนสวาท เข้าไปฝึกกสิณกรรมฐาน เข้าไปเรียนวิชชาแห่งสุวรรณโคมคำ
ศาสตร์ไหน ๆ ก็มีความแม่นยำ อันนีั ไม่รู้แฮะ เพราะไม่ได้ศึกษาศาสตร์อื่นเลย
เลยไม่รู้ว่าชาวบ้าน เขาก็มีดีพอเรียนที่นี่ ก็เหมือนเรียนสิ่งที่เคยเรียนมา ไม่คิดไปแสวงหาให้มากความอีก
คนดีย่อมรู้ค่าของสิ่งของที่ดี 
ถ้าดีจริงขอให้เป็นเช่นนั้น

ส่วนเรื่องพระธรรมบาล มีความเป็นมาอย่างไร
กล่าวไว้หมดสิ้นแล้ว หาอ่านเอาเถอะ
เชื่อก็ได้ ไม่เชื่อก็ได้

คนที่มาบำเพ็ญบารมี มีองค์ญาน หรือที่เรียกว่าองค์บารมีกันทั้งนั้น
บางท่านก็มีครูบาอาจารย์ในอดีต
ครูไม่ทิ้งศิษย์ หากมีความกตัญญู ก็จะได้เชื่อมจิตกันได้ 
พวกสัตสตทิฏฐินะครับ ที่เห็นว่ายังเป็นแบบนี้ ครูบาอาจารย์ตายแล้วยังกลับมาสอน มาดูแลศิษย์กันได้อีก 
เราได้ถ่ายทอดวิชชาเยอะ มีคนได้
ดูเหมือนทำกันได้ง่ายจริงๆ แต่รักษามันไว้ได้หรือเปล่าครับ
กสิณสมดุลย์ธาตุ 
เป็นระดับที่ก้าวหน้ามาก เป็นประโยชน์ฝึกมนุษย์ผูั้ต้องการการหลุดพ้นต่อไป

การกำเนิด
ปริศนาเลข ๓ ตัว
การทำให้สมการชีวิตสมดุลย์ เรียกว่า สมการสมดุลย์ 
ถ้ารู้จักการบริหารลมหายใจ มีศิลปะในการทรงลม หรือทำลมหายใจแล้ว ก็พ้นจากโรคภัยได้ วันหน้าจะเอาเรื่องของท่าน ดร.วัลลภ ปิยมโนธรรมมาให้ดูนะครับ...ท่านเป็นมะเร็งที่กระเพาะปัสสาวะระยะสุดท้าย ท่านหายใจเข้าออก ยังไงไว้จะเอาลิงค์มาฝากครับ
อันนี้ ไม่เหมือนใครหรอก
ก็สอนมาหลายรุ่นแล้ว อยากไปเรียนก็โทรไปสมัครได้
ดูรายละเอียดในเวปนะคะ

วิชชาตามคัมภีร์สุวรรณโคมคำ ไม่ใช่ว่าทุกท่านจะเคยเรียนมาจากอดีตกาล
สิ่งใดที่เคยเรียน เมื่อมาเจออีกครั้ง ก็จะกระทบจิต เรียกว่า เชื่อมจิต
ผู้ใดที่เคยได้กสิณในขั้นที่มีพลัง
เหมือนดราก้อนบอลเลย... ก็จะรู้ว่า ตนเองต้องฝึกกสิณกรรมฐาน

การข้ามโคตรภูญาณ 
จะรีบข้ามโครตไปไหนเนี่ย ถ้าเข้าถึงขั้นนั้นได้นะก้าวสู่อริยมรรค อริยผลแล้วนะครับนั่น...ก็ทำได้ เฉพาะพุทธจริต เท่านั้นทำได้เฉพาะพวกติเหตุมากกว่าครับ จริตอะไรก็ทำได้...พระจูฬบันถกเป็นคนที่ทำกรรมฐานอะไรก็ไม่ได้ ท่องคาถาไม่ถึงบาทก็ลืม แล้วทำไมบรรลุปฏิสัมภิทาได้ล่ะครับ ทั้งๆที่จำคาถาก็ไม่ได้...
หากท่านต้องการปิดอบายภูมิ ก็ต้องหาวิธีให้ตนเปลี่ยนจริตให้ได้ก่อน

ไม่ต้องเปลี่ยนจริตหลอกครับ เพราะดัดจริตมันดัดไม่ได้ ต้องทำความเห็นให้ตรงก่อน ศึกษาให้มากๆ ฟังธรรมะให้มากๆ ผมไม่ได้มาเถียงกับเจ้อะนะ (แต่ก็ดูเหมือนจะเถียงนะเนี่ย แต่เขามาแก้อรรถนะจ๊ะ) เมื่อมีความรู้แล้ว จะได้ทำถูก ปฏิบัติถูก อย่าคิดว่าตัวเองจะหลุดพ้นจากสังสารวัฏฏ์ได้ง่ายๆนะครับ ปัญญาที่ทำมาในยุคนี้จะมีใครมีปัญญาเท่าท่านพระพาหิยะ ฟังธรรมเล็กน้อย ก็เป็นพระอรหันต์


บุคคลผู้เดินทางถ้าไม่หมั่นดูแผนที่หรือดูหนทางที่ตนเดินมา แล้วเดินไปในทางที่ตนคิดหวัง จะรู้ได้ยังไงว่าตนเองเดินมาถูกทางแล้ว

อ้างอิง
http://board.palungjit.org/f16/%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B9%87%E0%B8%88%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%96%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8%B2%E0%B8%AF-%E0%B8%9A%E0%B8%B9%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B8%96%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%97%E0%B8%AD%E0%B8%94%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%8A%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%87-514521-6.html

ชมรมสุวรรณกุมกาม....(ชมรมคนหื่น)

เพื่อนดิฉันเข้าไปเรียนดูเจ้าค่ะ (เธอนึกว่าเป็นที่เดียวกับพระธรรมะบาล ความจริงเป็นคนที่กัน) มีไม่กี่คนกับหมาอีกตัว วังเวง เงี๊ยบมากเลยค่ะ ไม่สมกับที่คุณป้าแสนสวาทเปล่าประกาศ ละก็เห็นสปงจีวรตากอยู่ประจำเลย เช้าเห็นมีคน
ห่มจีวรพระเปิดประตูชมรมออกมา เดินออกบิณฑบาติตอนเช้า ๆ สายๆ ลากอาหารบินฑบาติกลับเข้าชมรมอีก แทบทุกวันค่ะ ดิฉันชักจะงง ๆ อะไรกันเจ้าค่ะ ชมรมทำไรกัน ช่วยอธิบายด้วยเจ้าค่ะ

อ้างอิง
http://board.palungjit.org/f16/%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B9%87%E0%B8%88%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%96%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8%B2%E0%B8%AF-%E0%B8%9A%E0%B8%B9%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B8%96%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%97%E0%B8%AD%E0%B8%94%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%8A%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%87-514521-7.html

วันศุกร์ที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2556

ศึกทะลุฟ้าตระกูลหยางHD part 1

วันศุกร์ที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2556

พญานาคสองฝั่งโขง ๔ ตอน (กิเลสพญานาค)

"พญานาคจะมีเรื่องทะเลาะกันก็เพราะเรื่องกามนี้เป็นหลัก คดี ที่เกิดขึ้นมักจะเป็น เรื่องเหล่านี้ ผู้ปกครองต้องตัดสินเกี่ยวกับ เรื่องผัวๆ เมียๆ ตลอดเวลา""พญานาคจะมีเรื่องทะเลาะกันก็เพราะเรื่องกามนี้เป็นหลัก คดี ที่เกิดขึ้นมักจะเป็น เรื่องเหล่านี้ ผู้ปกครองต้องตัดสินเกี่ยวกับ เรื่องผัวๆ เมียๆ ตลอดเวลา"
แท้จริงแล้วพญานาคก็คืออดีตมนุษย์ จึงต่างต้องวนเวียนตกเป็นทาสของกิเลสมาร อยู่ในทั้งสามเรื่องนี้เช่นเดียวกับมนุษย์ คือ เรื่องกิน กาม และเกียรติ

เรื่องอาหารการกินของพญานาคใน กำเนิดโอปปาติกะ เกิดขึ้นจากบุญซึ่งตนเอง ทำไว้ในสมัยเป็นมนุษย์ ส่วนบริวารคือพวก ที่เกิดแบบสังเสทชะ เกิดในน้ำสกปรก ใน เหงื่อไคล ก็จะอาศัยอาหารการกินที่เกิด จากบุญของเจ้านายรวมกับบุญของตน รวมถึงการบริโภคสมบัติ ซึ่งแต่ละชิ้น ก็เกิดด้วยบุญ ใครจะแย่งชิงกัน หรือลักขโมย กันไม่ได้ เพราะบุญของผู้นั้นคุ้มครองสมบัติ ของตนเอาไว้ ปกครองกันแบบบุญญาธิปไตย

ในเรื่องของเกียรติหรือศักดิ์ศรีก็แย่งกัน ไม่ได้เช่นเดียวกัน มีการแบ่งพื้นที่เขตแดนใน การดูแลตามกำลังบุญของตน หรือตามแต่ เจ้าเมืองนั้นจะมอบหมายให้ตามกำลังบุญ ไม่ มีการรบราฆ่าฟันเพื่อแย่งชิงพื้นที่กัน ยกเว้น พวกกำเนิดต่ำกว่า คือกำเนิดแบบอัณฑชะและชลาพุชะ บางครั้งจะมีการแย่งชิงพื้นที่หรือ หากินข้ามเขตกันบ้างเป็นครั้งคราว

เรื่องยศถาบรรดาศักดิ์ ก็แบ่งกันตาม กำลังบุญ และตามกำเนิดสูงต่ำ จึงไม่มีการ ทะเลาะกันเรื่องตำแหน่งและเกียรติยศ ไม่ เหมือนมนุษย์ซึ่งยังแย่งชิงกัน ทั้งตำแหน่ง หน้าที่และการงานเรื่องยศถาบรรดาศักดิ์ ก็แบ่งกันตาม กำลังบุญ และตามกำเนิดสูงต่ำ จึงไม่มีการ ทะเลาะกันเรื่องตำแหน่งและเกียรติยศ ไม่ เหมือนมนุษย์ซึ่งยังแย่งชิงกัน ทั้งตำแหน่ง หน้าที่และการงาน
ในเรื่องของเกียรติหรือศักดิ์ศรีก็แย่งกัน ไม่ได้เช่นเดียวกัน มีการแบ่งพื้นที่เขตแดนใน การดูแลตามกำลังบุญของตน หรือตามแต่ เจ้าเมืองนั้นจะมอบหมายให้ตามกำลังบุญ ไม่ มีการรบราฆ่าฟันเพื่อแย่งชิงพื้นที่กัน ยกเว้น พวกกำเนิดต่ำกว่า คือกำเนิดแบบอัณฑชะและชลาพุชะ บางครั้งจะมีการแย่งชิงพื้นที่หรือ หากินข้ามเขตกันบ้างเป็นครั้งคราวเรื่องยศถาบรรดาศักดิ์ ก็แบ่งกันตาม กำลังบุญ และตามกำเนิดสูงต่ำ จึงไม่มีการ ทะเลาะกันเรื่องตำแหน่งและเกียรติยศ ไม่ เหมือนมนุษย์ซึ่งยังแย่งชิงกัน ทั้งตำแหน่ง หน้าที่และการงานส่วนเรื่องกามนั้น พญานาคจะมีเรื่อง ทะเลาะกันก็เพราะเรื่องกามนี้ เป็นหลัก คดีที่เกิดขึ้นมักจะ เป็นเรื่องเหล่านี้ ผู้ปกครองต้อง ตัดสินเกี่ยวกับเรื่องผัวๆ เมียๆ ตลอดเวลา ดังเช่นคดีตัวอย่าง อีกคดีหนึ่ง เกิดขึ้นที่เมืองของ เจ้าแม่สองนาง

เรื่องมีอยู่ว่า บริวารของ เจ้าแม่สองนาง ล้วนแต่เป็นหญิง ส่วนหนึ่งจะมีวิบากกรรมเรื่อง ไร้คู่ครอง อีกส่วนหนึ่งสามารถมีคู่ครองได้ แต่ เมื่อมีคู่ครองแล้วต้องย้ายไปอยู่กับคู่ครอง ซึ่ง อยู่อีกเมืองหนึ่ง ปล่อยให้อยู่ในเมืองเดียวกัน ไม่ได้ เพราะเมืองของเจ้าแม่สองนางนั้น มีแต่ ผู้หญิงล้วน ถ้ามีผู้ชายเข้ามาอยู่ ก็อาจจะเกิด ปัญหาเรื่องชู้สาวขึ้นมาได้ง่าย 

ครั้งหนึ่งบริวารหนุ่มของสุวรรณมธุรนาคราชตนหนึ่ง มีนิสัยเจ้าชู้ นาคหนุ่มนั้นรู้ ดีว่าเมืองเจ้าแม่สองนาง เต็มไปด้วยนางนาค มาณวิกา สวยๆ สาวๆ แรกรุ่นดรุณีทั้งนั้น จึงหาเวลาว่างตอนออกจากเวรหน้าที่ของตน ออกไปว่ายน้ำนอกเมือง คอยหาโอกาสจีบ นางนาคของเมืองเจ้าแม่สองนาง ขณะที่เธอ ออกมาว่ายน้ำเล่น

มีนางนาคตนหนึ่งออกมาว่ายน้ำเล่น ตามลำพัง ด้วยความคึกคะนองของนาคหนุ่ม ก็โผเข้าใส่ทันที เอาหางเกี่ยวกระหวัดรัดร่าง นาคสาว กระตุกเบาๆ เป็นเชิงทักทาย นาง นาคน้อยสะดุ้ง สั่นสะท้านไปทั้งตัว เมื่อถูก ลวนลามเธอตกใจร้องลั่น

"จะทำอะไรน่ะ ปล่อยนะ อย่านะ อย่า ปล่อยเดี๋ยวนี้นะ" ร้องไปดิ้นไป สะบัดตัวไปมา จนน้ำกระจาย เจ้านาคหนุ่มหัวเราะอย่างสบ อารมณ์ ในความไม่ประสีประสาของนาคสาว

"โอ้ สาวน้อย แสนงาม อย่าดิ้นเลย ไม่ ได้ทำให้เจ็บสักหน่อย หยอกเล่นนิดเดียวน่านะ อย่าโกรธนะ รักกันนะ พี่รักเธอตั้งแต่แรกเห็น นะ" นาคหนุ่มค่อยๆ คลายรัดนาคสาว ยิ้ม อย่างประจบเอาใจ

"สวยจัง น่ารักจัง ตัวนุ้มนุ่ม หอมด้วย" พูดพลางเบียดกระแซะเข้ามาหานาคสาว ผู้อ่อนต่อโลก

"ไปว่ายน้ำเล่นทางโน้นดีกว่า" นาคสาว ว่ายน้ำตามไปอย่างเคลิบเคลิ้ม ในทีท่าและคารมของนาคหนุ่มรูปงาม เธอปักใจเชื่อว่า นาคหนุ่มนี้รักตนจริงๆ

เมื่อถึงถ้ำใต้น้ำเล็กๆ แห่งหนึ่งอยู่ในที่ ลับหูลับตา นาคหนุ่มก็ใช้ความเจนจัดชั้นเชิง เจ้าชู้กับสาวนาค จนเธอไม่สามารถควบคุม อารมณ์และความต้องการของธรรมชาติใน ตัวตนได้

สัมพันธ์สวาทอันลึกซึ้งที่เธอได้รับคือ ความประทับใจครั้งแรกในชีวิต แต่สำหรับ นาคหนุ่ม มันคือประสบการณ์ของลูกผู้ชาย นาค ไม่ใช่ความรัก แต่เป็นความสำเร็จ และความภาคภูมิใจในชั้นเชิงเจ้าชู้ของเขา ที่ สามารถทำให้นาคสาวตกลงปลงใจได้โดย ง่ายดายสัมพันธ์สวาทอันลึกซึ้งที่เธอได้รับคือ ความประทับใจครั้งแรกในชีวิต แต่สำหรับ นาคหนุ่ม มันคือประสบการณ์ของลูกผู้ชาย นาค ไม่ใช่ความรัก แต่เป็นความสำเร็จ และความภาคภูมิใจในชั้นเชิงเจ้าชู้ของเขา ที่ สามารถทำให้นาคสาวตกลงปลงใจได้โดย ง่ายดาย
เมื่อถึงถ้ำใต้น้ำเล็กๆ แห่งหนึ่งอยู่ในที่ ลับหูลับตา นาคหนุ่มก็ใช้ความเจนจัดชั้นเชิง เจ้าชู้กับสาวนาค จนเธอไม่สามารถควบคุม อารมณ์และความต้องการของธรรมชาติใน ตัวตนได้สัมพันธ์สวาทอันลึกซึ้งที่เธอได้รับคือ ความประทับใจครั้งแรกในชีวิต แต่สำหรับ นาคหนุ่ม มันคือประสบการณ์ของลูกผู้ชาย นาค ไม่ใช่ความรัก แต่เป็นความสำเร็จ และความภาคภูมิใจในชั้นเชิงเจ้าชู้ของเขา ที่ สามารถทำให้นาคสาวตกลงปลงใจได้โดย ง่ายดาย
"ไปว่ายน้ำเล่นทางโน้นดีกว่า" นาคสาว ว่ายน้ำตามไปอย่างเคลิบเคลิ้ม ในทีท่าและคารมของนาคหนุ่มรูปงาม เธอปักใจเชื่อว่า นาคหนุ่มนี้รักตนจริงๆเมื่อถึงถ้ำใต้น้ำเล็กๆ แห่งหนึ่งอยู่ในที่ ลับหูลับตา นาคหนุ่มก็ใช้ความเจนจัดชั้นเชิง เจ้าชู้กับสาวนาค จนเธอไม่สามารถควบคุม อารมณ์และความต้องการของธรรมชาติใน ตัวตนได้สัมพันธ์สวาทอันลึกซึ้งที่เธอได้รับคือ ความประทับใจครั้งแรกในชีวิต แต่สำหรับ นาคหนุ่ม มันคือประสบการณ์ของลูกผู้ชาย นาค ไม่ใช่ความรัก แต่เป็นความสำเร็จ และความภาคภูมิใจในชั้นเชิงเจ้าชู้ของเขา ที่ สามารถทำให้นาคสาวตกลงปลงใจได้โดย ง่ายดาย
"สวยจัง น่ารักจัง ตัวนุ้มนุ่ม หอมด้วย" พูดพลางเบียดกระแซะเข้ามาหานาคสาว ผู้อ่อนต่อโลก"ไปว่ายน้ำเล่นทางโน้นดีกว่า" นาคสาว ว่ายน้ำตามไปอย่างเคลิบเคลิ้ม ในทีท่าและคารมของนาคหนุ่มรูปงาม เธอปักใจเชื่อว่า นาคหนุ่มนี้รักตนจริงๆเมื่อถึงถ้ำใต้น้ำเล็กๆ แห่งหนึ่งอยู่ในที่ ลับหูลับตา นาคหนุ่มก็ใช้ความเจนจัดชั้นเชิง เจ้าชู้กับสาวนาค จนเธอไม่สามารถควบคุม อารมณ์และความต้องการของธรรมชาติใน ตัวตนได้สัมพันธ์สวาทอันลึกซึ้งที่เธอได้รับคือ ความประทับใจครั้งแรกในชีวิต แต่สำหรับ นาคหนุ่ม มันคือประสบการณ์ของลูกผู้ชาย นาค ไม่ใช่ความรัก แต่เป็นความสำเร็จ และความภาคภูมิใจในชั้นเชิงเจ้าชู้ของเขา ที่ สามารถทำให้นาคสาวตกลงปลงใจได้โดย ง่ายดาย
"โอ้ สาวน้อย แสนงาม อย่าดิ้นเลย ไม่ ได้ทำให้เจ็บสักหน่อย หยอกเล่นนิดเดียวน่านะ อย่าโกรธนะ รักกันนะ พี่รักเธอตั้งแต่แรกเห็น นะ" นาคหนุ่มค่อยๆ คลายรัดนาคสาว ยิ้ม อย่างประจบเอาใจ"สวยจัง น่ารักจัง ตัวนุ้มนุ่ม หอมด้วย" พูดพลางเบียดกระแซะเข้ามาหานาคสาว ผู้อ่อนต่อโลก"ไปว่ายน้ำเล่นทางโน้นดีกว่า" นาคสาว ว่ายน้ำตามไปอย่างเคลิบเคลิ้ม ในทีท่าและคารมของนาคหนุ่มรูปงาม เธอปักใจเชื่อว่า นาคหนุ่มนี้รักตนจริงๆเมื่อถึงถ้ำใต้น้ำเล็กๆ แห่งหนึ่งอยู่ในที่ ลับหูลับตา นาคหนุ่มก็ใช้ความเจนจัดชั้นเชิง เจ้าชู้กับสาวนาค จนเธอไม่สามารถควบคุม อารมณ์และความต้องการของธรรมชาติใน ตัวตนได้สัมพันธ์สวาทอันลึกซึ้งที่เธอได้รับคือ ความประทับใจครั้งแรกในชีวิต แต่สำหรับ นาคหนุ่ม มันคือประสบการณ์ของลูกผู้ชาย นาค ไม่ใช่ความรัก แต่เป็นความสำเร็จ และความภาคภูมิใจในชั้นเชิงเจ้าชู้ของเขา ที่ สามารถทำให้นาคสาวตกลงปลงใจได้โดย ง่ายดาย
"จะทำอะไรน่ะ ปล่อยนะ อย่านะ อย่า ปล่อยเดี๋ยวนี้นะ" ร้องไปดิ้นไป สะบัดตัวไปมา จนน้ำกระจาย เจ้านาคหนุ่มหัวเราะอย่างสบ อารมณ์ ในความไม่ประสีประสาของนาคสาว"โอ้ สาวน้อย แสนงาม อย่าดิ้นเลย ไม่ ได้ทำให้เจ็บสักหน่อย หยอกเล่นนิดเดียวน่านะ อย่าโกรธนะ รักกันนะ พี่รักเธอตั้งแต่แรกเห็น นะ" นาคหนุ่มค่อยๆ คลายรัดนาคสาว ยิ้ม อย่างประจบเอาใจ"สวยจัง น่ารักจัง ตัวนุ้มนุ่ม หอมด้วย" พูดพลางเบียดกระแซะเข้ามาหานาคสาว ผู้อ่อนต่อโลก"ไปว่ายน้ำเล่นทางโน้นดีกว่า" นาคสาว ว่ายน้ำตามไปอย่างเคลิบเคลิ้ม ในทีท่าและคารมของนาคหนุ่มรูปงาม เธอปักใจเชื่อว่า นาคหนุ่มนี้รักตนจริงๆเมื่อถึงถ้ำใต้น้ำเล็กๆ แห่งหนึ่งอยู่ในที่ ลับหูลับตา นาคหนุ่มก็ใช้ความเจนจัดชั้นเชิง เจ้าชู้กับสาวนาค จนเธอไม่สามารถควบคุม อารมณ์และความต้องการของธรรมชาติใน ตัวตนได้สัมพันธ์สวาทอันลึกซึ้งที่เธอได้รับคือ ความประทับใจครั้งแรกในชีวิต แต่สำหรับ นาคหนุ่ม มันคือประสบการณ์ของลูกผู้ชาย นาค ไม่ใช่ความรัก แต่เป็นความสำเร็จ และความภาคภูมิใจในชั้นเชิงเจ้าชู้ของเขา ที่ สามารถทำให้นาคสาวตกลงปลงใจได้โดย ง่ายดาย
มีนางนาคตนหนึ่งออกมาว่ายน้ำเล่น ตามลำพัง ด้วยความคึกคะนองของนาคหนุ่ม ก็โผเข้าใส่ทันที เอาหางเกี่ยวกระหวัดรัดร่าง นาคสาว กระตุกเบาๆ เป็นเชิงทักทาย นาง นาคน้อยสะดุ้ง สั่นสะท้านไปทั้งตัว เมื่อถูก ลวนลามเธอตกใจร้องลั่น"จะทำอะไรน่ะ ปล่อยนะ อย่านะ อย่า ปล่อยเดี๋ยวนี้นะ" ร้องไปดิ้นไป สะบัดตัวไปมา จนน้ำกระจาย เจ้านาคหนุ่มหัวเราะอย่างสบ อารมณ์ ในความไม่ประสีประสาของนาคสาว"โอ้ สาวน้อย แสนงาม อย่าดิ้นเลย ไม่ ได้ทำให้เจ็บสักหน่อย หยอกเล่นนิดเดียวน่านะ อย่าโกรธนะ รักกันนะ พี่รักเธอตั้งแต่แรกเห็น นะ" นาคหนุ่มค่อยๆ คลายรัดนาคสาว ยิ้ม อย่างประจบเอาใจ"สวยจัง น่ารักจัง ตัวนุ้มนุ่ม หอมด้วย" พูดพลางเบียดกระแซะเข้ามาหานาคสาว ผู้อ่อนต่อโลก"ไปว่ายน้ำเล่นทางโน้นดีกว่า" นาคสาว ว่ายน้ำตามไปอย่างเคลิบเคลิ้ม ในทีท่าและคารมของนาคหนุ่มรูปงาม เธอปักใจเชื่อว่า นาคหนุ่มนี้รักตนจริงๆเมื่อถึงถ้ำใต้น้ำเล็กๆ แห่งหนึ่งอยู่ในที่ ลับหูลับตา นาคหนุ่มก็ใช้ความเจนจัดชั้นเชิง เจ้าชู้กับสาวนาค จนเธอไม่สามารถควบคุม อารมณ์และความต้องการของธรรมชาติใน ตัวตนได้สัมพันธ์สวาทอันลึกซึ้งที่เธอได้รับคือ ความประทับใจครั้งแรกในชีวิต แต่สำหรับ นาคหนุ่ม มันคือประสบการณ์ของลูกผู้ชาย นาค ไม่ใช่ความรัก แต่เป็นความสำเร็จ และความภาคภูมิใจในชั้นเชิงเจ้าชู้ของเขา ที่ สามารถทำให้นาคสาวตกลงปลงใจได้โดย ง่ายดาย
ครั้งหนึ่งบริวารหนุ่มของสุวรรณมธุรนาคราชตนหนึ่ง มีนิสัยเจ้าชู้ นาคหนุ่มนั้นรู้ ดีว่าเมืองเจ้าแม่สองนาง เต็มไปด้วยนางนาค มาณวิกา สวยๆ สาวๆ แรกรุ่นดรุณีทั้งนั้น จึงหาเวลาว่างตอนออกจากเวรหน้าที่ของตน ออกไปว่ายน้ำนอกเมือง คอยหาโอกาสจีบ นางนาคของเมืองเจ้าแม่สองนาง ขณะที่เธอ ออกมาว่ายน้ำเล่นมีนางนาคตนหนึ่งออกมาว่ายน้ำเล่น ตามลำพัง ด้วยความคึกคะนองของนาคหนุ่ม ก็โผเข้าใส่ทันที เอาหางเกี่ยวกระหวัดรัดร่าง นาคสาว กระตุกเบาๆ เป็นเชิงทักทาย นาง นาคน้อยสะดุ้ง สั่นสะท้านไปทั้งตัว เมื่อถูก ลวนลามเธอตกใจร้องลั่น"จะทำอะไรน่ะ ปล่อยนะ อย่านะ อย่า ปล่อยเดี๋ยวนี้นะ" ร้องไปดิ้นไป สะบัดตัวไปมา จนน้ำกระจาย เจ้านาคหนุ่มหัวเราะอย่างสบ อารมณ์ ในความไม่ประสีประสาของนาคสาว"โอ้ สาวน้อย แสนงาม อย่าดิ้นเลย ไม่ ได้ทำให้เจ็บสักหน่อย หยอกเล่นนิดเดียวน่านะ อย่าโกรธนะ รักกันนะ พี่รักเธอตั้งแต่แรกเห็น นะ" นาคหนุ่มค่อยๆ คลายรัดนาคสาว ยิ้ม อย่างประจบเอาใจ"สวยจัง น่ารักจัง ตัวนุ้มนุ่ม หอมด้วย" พูดพลางเบียดกระแซะเข้ามาหานาคสาว ผู้อ่อนต่อโลก"ไปว่ายน้ำเล่นทางโน้นดีกว่า" นาคสาว ว่ายน้ำตามไปอย่างเคลิบเคลิ้ม ในทีท่าและคารมของนาคหนุ่มรูปงาม เธอปักใจเชื่อว่า นาคหนุ่มนี้รักตนจริงๆเมื่อถึงถ้ำใต้น้ำเล็กๆ แห่งหนึ่งอยู่ในที่ ลับหูลับตา นาคหนุ่มก็ใช้ความเจนจัดชั้นเชิง เจ้าชู้กับสาวนาค จนเธอไม่สามารถควบคุม อารมณ์และความต้องการของธรรมชาติใน ตัวตนได้สัมพันธ์สวาทอันลึกซึ้งที่เธอได้รับคือ ความประทับใจครั้งแรกในชีวิต แต่สำหรับ นาคหนุ่ม มันคือประสบการณ์ของลูกผู้ชาย นาค ไม่ใช่ความรัก แต่เป็นความสำเร็จ และความภาคภูมิใจในชั้นเชิงเจ้าชู้ของเขา ที่ สามารถทำให้นาคสาวตกลงปลงใจได้โดย ง่ายดาย 
หลังจากประสบความสำเร็จไปหนึ่งราย แล้วก็ติดใจ นาคหนุ่มจอมเจ้าชู้จึงมาเลียบๆ เคียงๆ เพื่อหาเหยื่อสาวนาคมาณวิการาย ใหม่ต่อไป

จนกระทั่งวันหนึ่ง ก็ได้มาพบกับนาค มาณวิกาสาวรายใหม่ ที่ออกมาว่ายน้ำเล่นนอก เมืองตามลำพัง เธอช่างสวยงามเป็นพิเศษ นาคหนุ่มเห็นแล้ว ไม่รีรอเลย ตรงเข้าไปจีบ โดยใช้วิธีการเดิม คำพูดเดิมๆ ที่เคยใช้ได้ผล มาแล้ว ครั้งนี้ก็เช่นกัน สำเร็จโดยไม่ยากเลย 

นาคหนุ่มยิ่งหมกมุ่นมัวเมาในสัมผัสอัน ละมุนของนางนาคสาวยิ่งขึ้นไปอีก แอบมา เมียงมอง เพื่อหาเหยื่อรายอื่นๆ ต่อไป พอ ถึงรายที่สาม วิธีเดิมไม่ได้ผลเสียแล้ว ต้อง ใช้วิธีใหม่ โดยแผ่พังพานใหญ่ แสดงลีลา ให้ดูสง่างาม เข้มแข็ง พร้อมที่จะปกป้องเธอ ทุกเวลานาคหนุ่มยิ่งหมกมุ่นมัวเมาในสัมผัสอัน ละมุนของนางนาคสาวยิ่งขึ้นไปอีก แอบมา เมียงมอง เพื่อหาเหยื่อรายอื่นๆ ต่อไป พอ ถึงรายที่สาม วิธีเดิมไม่ได้ผลเสียแล้ว ต้อง ใช้วิธีใหม่ โดยแผ่พังพานใหญ่ แสดงลีลา ให้ดูสง่างาม เข้มแข็ง พร้อมที่จะปกป้องเธอ ทุกเวลา นาคหนุ่มมาดักเจอนาคสาวทุกครั้ง ไม่ซ้ำรายกันเลย เพราะรู้กำหนดเวลาในการ เข้าเวรและออกเวรที่ไม่ตรงกันของนาคสาว ในเมืองเจ้าแม่สองนาง ส่วนตัวนาคหนุ่มที่มา ได้ตามเวลานัดหมายกับสาวนาคไว้ เพราะ อาศัยแลกเวรกับเพื่อนนาคหนุ่มด้วยกัน

ในสังคมของนาคสาวมาณวิกานั้น เมื่อ อยู่รวมกันก็เหมือนมนุษย์อย่างนี้ แหละ จะคุยกันด้วยเรื่องสัพเพเหระ คุยไปคุยมา ก็วกมาคุยถึงนาคหนุ่ม อีกเมืองหนึ่ง ว่าได้ไปเจอหนุ่มนาค เมืองนั้นนะ รูปหล่อ พูดเพราะ พูด ว่ายังงั้น พูดว่ายังงี้นะ คุยไปคุยมา เอ๊ะ ทำไมถึงพูดเหมือนกัน คำเดียว กัน ประโยคเดียวกัน ลีลาแบบเดียว กัน เอ๊ะ มันยังไงกันนี่ ยังกับตัวตนเดียวกันยังไงยังงั้นเลย น่าสงสัย ก็ได้แต่สงสัยเท่านั้นไม่มี โอกาสพิสูจน์ 

วันหนึ่งมีการปรับเวรในการ รับหน้าที่ นาคสาวมาณวิกาสองนาง ที่เคยมีความสัมพันธ์กับนาคหนุ่ม เจ้าชู้ในช่วงต่างเวลากัน จึงได้มี โอกาสมาพักพร้อมกับนาคสาวอีก ตนหนึ่ง นาคสาวตนแรกนัดเวลาเจอ กับนาคหนุ่มอยู่ก่อนแล้ว ก็มาตามวันเวลาที่ นัดหมาย โดยไม่รู้ว่าอีกนางนาคหนึ่งก็ปรับ เวลาเปลี่ยนเวรมาหยุดในวันเดียวกันพอดีวันหนึ่งมีการปรับเวรในการ รับหน้าที่ นาคสาวมาณวิกาสองนาง ที่เคยมีความสัมพันธ์กับนาคหนุ่ม เจ้าชู้ในช่วงต่างเวลากัน จึงได้มี โอกาสมาพักพร้อมกับนาคสาวอีก ตนหนึ่ง นาคสาวตนแรกนัดเวลาเจอ กับนาคหนุ่มอยู่ก่อนแล้ว ก็มาตามวันเวลาที่ นัดหมาย โดยไม่รู้ว่าอีกนางนาคหนึ่งก็ปรับ เวลาเปลี่ยนเวรมาหยุดในวันเดียวกันพอดี ด้วยอำนาจความรักและความคิดถึง นาคหนุ่มนั้น เธอจึงคิดว่าน่าจะออกไปเที่ยว นอกเมืองดู เผื่อว่าจะเจอสุดที่รักของตนบ้าง เมื่อออกไปนอกเมืองบาดาล ก็บังเอิญเจอ จริงๆ เจอนาคหนุ่มสุดที่รัก แต่ว่าตอนนี้ นาคหนุ่มสุดที่รักกำลังพลอดรักกับเพื่อน นาคสาวของเธอเองอยู่ในถ้ำใต้น้ำ ซึ่งเป็นที่ พลอดรักประจำของตน ภาพบาดตาบาดใจอย่างนี้ เกิดขึ้นได้อย่างไร ถ้าไม่ใช่การทรยศหักหลัง เสียแรงที่มาด้วยความคิดถึง ถ้างั้นก็เสียแรงเพิ่มขึ้นอีกหน่อย ลุยให้สมแค้น หายคิดถึงไปเลย 
นาคมาณวิกาสาว พุ่งตัวเข้าชนร่างสองร่าง ที่กำลังรัดกันกลมเป็นเกลียว แรงฤทธิ์หึงนี่มันสุดๆ จริงๆ ร่างสองร่างหลุดกระเด็นออกจากกัน ยังไม่ทันตั้งตัว ก็โดน กัดซ้ำจมเขี้ยว นาคหนุ่มตกตะลึงจนทำอะไรไม่ถูก สุดที่รักเก่ารายที่หนึ่ง กับสุดที่รักใหม่รายที่สอง กัดกันเป็นพัลวัน นาคสาวที่อยู่ ในบริเวณนั้นได้ยินเสียงก็เข้ามาห้าม จากหนึ่งเป็นสอง เป็นสาม มาเป็นหมู่เลย มาช่วยกันห้าม แต่ห้ามไม่ไหว

ในที่สุดหัวหน้าบริวารต้องเข้ามาห้ามเอง ควบคุมตัวนาคสาวทั้งสอง พร้อมด้วยนาคหนุ่มตัวต้นเหตุไปสอบสวน จึงได้รู้ว่า สาเหตุมาจากความหึงหวง นาคหนุ่มเจ้าชู้เที่ยวหลอกเขาไปทั่ว บรรดานาคสาวมาณวิกาตัวอื่นๆ ที่เคยถูกหลอก และมีสัมพันธ์กับนาค หนุ่มนี้จำได้ จึงรุมด่าว่าต่างๆ นานาในที่สุดหัวหน้าบริวารต้องเข้ามาห้ามเอง ควบคุมตัวนาคสาวทั้งสอง พร้อมด้วยนาคหนุ่มตัวต้นเหตุไปสอบสวน จึงได้รู้ว่า สาเหตุมาจากความหึงหวง นาคหนุ่มเจ้าชู้เที่ยวหลอกเขาไปทั่ว บรรดานาคสาวมาณวิกาตัวอื่นๆ ที่เคยถูกหลอก และมีสัมพันธ์กับนาค หนุ่มนี้จำได้ จึงรุมด่าว่าต่างๆ นานา
นาคมาณวิกาสาว พุ่งตัวเข้าชนร่างสองร่าง ที่กำลังรัดกันกลมเป็นเกลียว แรงฤทธิ์หึงนี่มันสุดๆ จริงๆ ร่างสองร่างหลุดกระเด็นออกจากกัน ยังไม่ทันตั้งตัว ก็โดน กัดซ้ำจมเขี้ยว นาคหนุ่มตกตะลึงจนทำอะไรไม่ถูก สุดที่รักเก่ารายที่หนึ่ง กับสุดที่รักใหม่รายที่สอง กัดกันเป็นพัลวัน นาคสาวที่อยู่ ในบริเวณนั้นได้ยินเสียงก็เข้ามาห้าม จากหนึ่งเป็นสอง เป็นสาม มาเป็นหมู่เลย มาช่วยกันห้าม แต่ห้ามไม่ไหวในที่สุดหัวหน้าบริวารต้องเข้ามาห้ามเอง ควบคุมตัวนาคสาวทั้งสอง พร้อมด้วยนาคหนุ่มตัวต้นเหตุไปสอบสวน จึงได้รู้ว่า สาเหตุมาจากความหึงหวง นาคหนุ่มเจ้าชู้เที่ยวหลอกเขาไปทั่ว บรรดานาคสาวมาณวิกาตัวอื่นๆ ที่เคยถูกหลอก และมีสัมพันธ์กับนาค หนุ่มนี้จำได้ จึงรุมด่าว่าต่างๆ นานา

เจ้าแม่สองนาง จึงตัดสินบริวารของตนว่า ให้นางนาคทั้งสองตัวที่ทำร้ายกัน โดนกักบริเวณ โดยตนหนึ่งให้ไปจำศีลอยู่ที่ถ้ำใต้น้ำ ส่วนอีกตนหนึ่งให้ไปจำศีลอยู่ที่โพรงดินใกล้ตลิ่งริมแม่น้ำโขง

ส่วนนาคหนุ่ม เจ้าแม่สองนางไม่สามารถตัดสินได้ เพราะอยู่ต่างเมือง จึงควบคุมตัว ไปส่งให้กับสุวรรณมธุรนาคราชตัดสิน

สุวรรณมธุรนาคราช สืบสวนแล้ว เห็น ว่านาคหนุ่มนั้นทำความผิดร้ายแรง เนื่อง จากตั้งใจทำผิดศีลข้อ ๓ หลายครั้ง พร้อม ทั้งพิจารณาเห็นว่า บุญในตัวของนาคหนุ่ม หมดแล้ว เพราะหน้าตาผิวพรรณหมองคล้ำ ซึ่งเป็นอาการของการหมดบุญ

จึงตัดสินให้ส่งตัวไปยมโลก โดยแจ้ง ไปที่หัวหน้าเขตที่เป็นกุมภัณฑ์ หัวหน้าเขต จึงแจ้งไปที่เจ้าหน้าที่ที่เป็นพญานาค ซึ่งช่วย ราชการพิเศษ เป็นกำลังเสริมในยมโลก มา รับตัวนาคหนุ่ม ไปลงโทษในยมโลกต่อไป โดยให้ไปปีนต้นงิ้ว ถูกอีกาปากเหล็กจิก ถูกสุนัขปากเหล็กกัด จนกระทั่งตายแล้วฟื้น ฟื้นแล้วกลับตายอีก ทนทรมานเช่นนี้ นานเป็นล้านๆ ปี นับตามเวลาในโลกมนุษย์จึงตัดสินให้ส่งตัวไปยมโลก โดยแจ้ง ไปที่หัวหน้าเขตที่เป็นกุมภัณฑ์ หัวหน้าเขต จึงแจ้งไปที่เจ้าหน้าที่ที่เป็นพญานาค ซึ่งช่วย ราชการพิเศษ เป็นกำลังเสริมในยมโลก มา รับตัวนาคหนุ่ม ไปลงโทษในยมโลกต่อไป โดยให้ไปปีนต้นงิ้ว ถูกอีกาปากเหล็กจิก ถูกสุนัขปากเหล็กกัด จนกระทั่งตายแล้วฟื้น ฟื้นแล้วกลับตายอีก ทนทรมานเช่นนี้ นานเป็นล้านๆ ปี นับตามเวลาในโลกมนุษย์
สุวรรณมธุรนาคราช สืบสวนแล้ว เห็น ว่านาคหนุ่มนั้นทำความผิดร้ายแรง เนื่อง จากตั้งใจทำผิดศีลข้อ ๓ หลายครั้ง พร้อม ทั้งพิจารณาเห็นว่า บุญในตัวของนาคหนุ่ม หมดแล้ว เพราะหน้าตาผิวพรรณหมองคล้ำ ซึ่งเป็นอาการของการหมดบุญจึงตัดสินให้ส่งตัวไปยมโลก โดยแจ้ง ไปที่หัวหน้าเขตที่เป็นกุมภัณฑ์ หัวหน้าเขต จึงแจ้งไปที่เจ้าหน้าที่ที่เป็นพญานาค ซึ่งช่วย ราชการพิเศษ เป็นกำลังเสริมในยมโลก มา รับตัวนาคหนุ่ม ไปลงโทษในยมโลกต่อไป โดยให้ไปปีนต้นงิ้ว ถูกอีกาปากเหล็กจิก ถูกสุนัขปากเหล็กกัด จนกระทั่งตายแล้วฟื้น ฟื้นแล้วกลับตายอีก ทนทรมานเช่นนี้ นานเป็นล้านๆ ปี นับตามเวลาในโลกมนุษย์
ส่วนนาคหนุ่ม เจ้าแม่สองนางไม่สามารถตัดสินได้ เพราะอยู่ต่างเมือง จึงควบคุมตัว ไปส่งให้กับสุวรรณมธุรนาคราชตัดสินสุวรรณมธุรนาคราช สืบสวนแล้ว เห็น ว่านาคหนุ่มนั้นทำความผิดร้ายแรง เนื่อง จากตั้งใจทำผิดศีลข้อ ๓ หลายครั้ง พร้อม ทั้งพิจารณาเห็นว่า บุญในตัวของนาคหนุ่ม หมดแล้ว เพราะหน้าตาผิวพรรณหมองคล้ำ ซึ่งเป็นอาการของการหมดบุญจึงตัดสินให้ส่งตัวไปยมโลก โดยแจ้ง ไปที่หัวหน้าเขตที่เป็นกุมภัณฑ์ หัวหน้าเขต จึงแจ้งไปที่เจ้าหน้าที่ที่เป็นพญานาค ซึ่งช่วย ราชการพิเศษ เป็นกำลังเสริมในยมโลก มา รับตัวนาคหนุ่ม ไปลงโทษในยมโลกต่อไป โดยให้ไปปีนต้นงิ้ว ถูกอีกาปากเหล็กจิก ถูกสุนัขปากเหล็กกัด จนกระทั่งตายแล้วฟื้น ฟื้นแล้วกลับตายอีก ทนทรมานเช่นนี้ นานเป็นล้านๆ ปี นับตามเวลาในโลกมนุษย์
เจ้าแม่สองนาง จึงตัดสินบริวารของตนว่า ให้นางนาคทั้งสองตัวที่ทำร้ายกัน โดนกักบริเวณ โดยตนหนึ่งให้ไปจำศีลอยู่ที่ถ้ำใต้น้ำ ส่วนอีกตนหนึ่งให้ไปจำศีลอยู่ที่โพรงดินใกล้ตลิ่งริมแม่น้ำโขง

ด้วยอำนาจความรักและความคิดถึง นาคหนุ่มนั้น เธอจึงคิดว่าน่าจะออกไปเที่ยว นอกเมืองดู เผื่อว่าจะเจอสุดที่รักของตนบ้าง เมื่อออกไปนอกเมืองบาดาล ก็บังเอิญเจอ จริงๆ เจอนาคหนุ่มสุดที่รัก แต่ว่าตอนนี้ นาคหนุ่มสุดที่รักกำลังพลอดรักกับเพื่อน นาคสาวของเธอเองอยู่ในถ้ำใต้น้ำ ซึ่งเป็นที่ พลอดรักประจำของตน ภาพบาดตาบาดใจอย่างนี้ เกิดขึ้นได้อย่างไร ถ้าไม่ใช่การทรยศหักหลัง เสียแรงที่มาด้วยความคิดถึง ถ้างั้นก็เสียแรงเพิ่มขึ้นอีกหน่อย ลุยให้สมแค้น หายคิดถึงไปเลย

นาคมาณวิกาสาว พุ่งตัวเข้าชนร่างสองร่าง ที่กำลังรัดกันกลมเป็นเกลียว แรงฤทธิ์หึงนี่มันสุดๆ จริงๆ ร่างสองร่างหลุดกระเด็นออกจากกัน ยังไม่ทันตั้งตัว ก็โดน กัดซ้ำจมเขี้ยว นาคหนุ่มตกตะลึงจนทำอะไรไม่ถูก สุดที่รักเก่ารายที่หนึ่ง กับสุดที่รักใหม่รายที่สอง กัดกันเป็นพัลวัน นาคสาวที่อยู่ ในบริเวณนั้นได้ยินเสียงก็เข้ามาห้าม จากหนึ่งเป็นสอง เป็นสาม มาเป็นหมู่เลย มาช่วยกันห้าม แต่ห้ามไม่ไหวในที่สุดหัวหน้าบริวารต้องเข้ามาห้ามเอง ควบคุมตัวนาคสาวทั้งสอง พร้อมด้วยนาคหนุ่มตัวต้นเหตุไปสอบสวน จึงได้รู้ว่า สาเหตุมาจากความหึงหวง นาคหนุ่มเจ้าชู้เที่ยวหลอกเขาไปทั่ว บรรดานาคสาวมาณวิกาตัวอื่นๆ ที่เคยถูกหลอก และมีสัมพันธ์กับนาค หนุ่มนี้จำได้ จึงรุมด่าว่าต่างๆ นานาในสังคมของนาคสาวมาณวิกานั้น เมื่อ อยู่รวมกันก็เหมือนมนุษย์อย่างนี้ แหละ จะคุยกันด้วยเรื่องสัพเพเหระ คุยไปคุยมา ก็วกมาคุยถึงนาคหนุ่ม อีกเมืองหนึ่ง ว่าได้ไปเจอหนุ่มนาค เมืองนั้นนะ รูปหล่อ พูดเพราะ พูด ว่ายังงั้น พูดว่ายังงี้นะ คุยไปคุยมา เอ๊ะ ทำไมถึงพูดเหมือนกัน คำเดียว กัน ประโยคเดียวกัน ลีลาแบบเดียว กัน เอ๊ะ มันยังไงกันนี่ ยังกับตัวตนเดียวกันยังไงยังงั้นเลย น่าสงสัย ก็ได้แต่สงสัยเท่านั้นไม่มี โอกาสพิสูจน์ วันหนึ่งมีการปรับเวรในการ รับหน้าที่ นาคสาวมาณวิกาสองนาง ที่เคยมีความสัมพันธ์กับนาคหนุ่ม เจ้าชู้ในช่วงต่างเวลากัน จึงได้มี โอกาสมาพักพร้อมกับนาคสาวอีก ตนหนึ่ง นาคสาวตนแรกนัดเวลาเจอ กับนาคหนุ่มอยู่ก่อนแล้ว ก็มาตามวันเวลาที่ นัดหมาย โดยไม่รู้ว่าอีกนางนาคหนึ่งก็ปรับ เวลาเปลี่ยนเวรมาหยุดในวันเดียวกันพอดีนาคหนุ่มมาดักเจอนาคสาวทุกครั้ง ไม่ซ้ำรายกันเลย เพราะรู้กำหนดเวลาในการ เข้าเวรและออกเวรที่ไม่ตรงกันของนาคสาว ในเมืองเจ้าแม่สองนาง ส่วนตัวนาคหนุ่มที่มา ได้ตามเวลานัดหมายกับสาวนาคไว้ เพราะ อาศัยแลกเวรกับเพื่อนนาคหนุ่มด้วยกันในสังคมของนาคสาวมาณวิกานั้น เมื่อ อยู่รวมกันก็เหมือนมนุษย์อย่างนี้ แหละ จะคุยกันด้วยเรื่องสัพเพเหระ คุยไปคุยมา ก็วกมาคุยถึงนาคหนุ่ม อีกเมืองหนึ่ง ว่าได้ไปเจอหนุ่มนาค เมืองนั้นนะ รูปหล่อ พูดเพราะ พูด ว่ายังงั้น พูดว่ายังงี้นะ คุยไปคุยมา เอ๊ะ ทำไมถึงพูดเหมือนกัน คำเดียว กัน ประโยคเดียวกัน ลีลาแบบเดียว กัน เอ๊ะ มันยังไงกันนี่ ยังกับตัวตนเดียวกันยังไงยังงั้นเลย น่าสงสัย ก็ได้แต่สงสัยเท่านั้นไม่มี โอกาสพิสูจน์

วันหนึ่งมีการปรับเวรในการ รับหน้าที่ นาคสาวมาณวิกาสองนาง ที่เคยมีความสัมพันธ์กับนาคหนุ่ม เจ้าชู้ในช่วงต่างเวลากัน จึงได้มี โอกาสมาพักพร้อมกับนาคสาวอีก ตนหนึ่ง นาคสาวตนแรกนัดเวลาเจอ กับนาคหนุ่มอยู่ก่อนแล้ว ก็มาตามวันเวลาที่ นัดหมาย โดยไม่รู้ว่าอีกนางนาคหนึ่งก็ปรับ เวลาเปลี่ยนเวรมาหยุดในวันเดียวกันพอดีจนกระทั่งวันหนึ่ง ก็ได้มาพบกับนาค มาณวิกาสาวรายใหม่ ที่ออกมาว่ายน้ำเล่นนอก เมืองตามลำพัง เธอช่างสวยงามเป็นพิเศษ นาคหนุ่มเห็นแล้ว ไม่รีรอเลย ตรงเข้าไปจีบ โดยใช้วิธีการเดิม คำพูดเดิมๆ ที่เคยใช้ได้ผล มาแล้ว ครั้งนี้ก็เช่นกัน สำเร็จโดยไม่ยากเลยนาคหนุ่มยิ่งหมกมุ่นมัวเมาในสัมผัสอัน ละมุนของนางนาคสาวยิ่งขึ้นไปอีก แอบมา เมียงมอง เพื่อหาเหยื่อรายอื่นๆ ต่อไป พอ ถึงรายที่สาม วิธีเดิมไม่ได้ผลเสียแล้ว ต้อง ใช้วิธีใหม่ โดยแผ่พังพานใหญ่ แสดงลีลา ให้ดูสง่างาม เข้มแข็ง พร้อมที่จะปกป้องเธอ ทุกเวลาหลังจากประสบความสำเร็จไปหนึ่งราย แล้วก็ติดใจ นาคหนุ่มจอมเจ้าชู้จึงมาเลียบๆ เคียงๆ เพื่อหาเหยื่อสาวนาคมาณวิการาย ใหม่ต่อไปจนกระทั่งวันหนึ่ง ก็ได้มาพบกับนาค มาณวิกาสาวรายใหม่ ที่ออกมาว่ายน้ำเล่นนอก เมืองตามลำพัง เธอช่างสวยงามเป็นพิเศษ นาคหนุ่มเห็นแล้ว ไม่รีรอเลย ตรงเข้าไปจีบ โดยใช้วิธีการเดิม คำพูดเดิมๆ ที่เคยใช้ได้ผล มาแล้ว ครั้งนี้ก็เช่นกัน สำเร็จโดยไม่ยากเลย

นาคหนุ่มยิ่งหมกมุ่นมัวเมาในสัมผัสอัน ละมุนของนางนาคสาวยิ่งขึ้นไปอีก แอบมา เมียงมอง เพื่อหาเหยื่อรายอื่นๆ ต่อไป พอ ถึงรายที่สาม วิธีเดิมไม่ได้ผลเสียแล้ว ต้อง ใช้วิธีใหม่ โดยแผ่พังพานใหญ่ แสดงลีลา ให้ดูสง่างาม เข้มแข็ง พร้อมที่จะปกป้องเธอ ทุกเวลาเรื่องมีอยู่ว่า บริวารของ เจ้าแม่สองนาง ล้วนแต่เป็นหญิง ส่วนหนึ่งจะมีวิบากกรรมเรื่อง ไร้คู่ครอง อีกส่วนหนึ่งสามารถมีคู่ครองได้ แต่ เมื่อมีคู่ครองแล้วต้องย้ายไปอยู่กับคู่ครอง ซึ่ง อยู่อีกเมืองหนึ่ง ปล่อยให้อยู่ในเมืองเดียวกัน ไม่ได้ เพราะเมืองของเจ้าแม่สองนางนั้น มีแต่ ผู้หญิงล้วน ถ้ามีผู้ชายเข้ามาอยู่ ก็อาจจะเกิด ปัญหาเรื่องชู้สาวขึ้นมาได้ง่ายครั้งหนึ่งบริวารหนุ่มของสุวรรณมธุรนาคราชตนหนึ่ง มีนิสัยเจ้าชู้ นาคหนุ่มนั้นรู้ ดีว่าเมืองเจ้าแม่สองนาง เต็มไปด้วยนางนาค มาณวิกา สวยๆ สาวๆ แรกรุ่นดรุณีทั้งนั้น จึงหาเวลาว่างตอนออกจากเวรหน้าที่ของตน ออกไปว่ายน้ำนอกเมือง คอยหาโอกาสจีบ นางนาคของเมืองเจ้าแม่สองนาง ขณะที่เธอ ออกมาว่ายน้ำเล่นมีนางนาคตนหนึ่งออกมาว่ายน้ำเล่น ตามลำพัง ด้วยความคึกคะนองของนาคหนุ่ม ก็โผเข้าใส่ทันที เอาหางเกี่ยวกระหวัดรัดร่าง นาคสาว กระตุกเบาๆ เป็นเชิงทักทาย นาง นาคน้อยสะดุ้ง สั่นสะท้านไปทั้งตัว เมื่อถูก ลวนลามเธอตกใจร้องลั่น"จะทำอะไรน่ะ ปล่อยนะ อย่านะ อย่า ปล่อยเดี๋ยวนี้นะ" ร้องไปดิ้นไป สะบัดตัวไปมา จนน้ำกระจาย เจ้านาคหนุ่มหัวเราะอย่างสบ อารมณ์ ในความไม่ประสีประสาของนาคสาว"โอ้ สาวน้อย แสนงาม อย่าดิ้นเลย ไม่ ได้ทำให้เจ็บสักหน่อย หยอกเล่นนิดเดียวน่านะ อย่าโกรธนะ รักกันนะ พี่รักเธอตั้งแต่แรกเห็น นะ" นาคหนุ่มค่อยๆ คลายรัดนาคสาว ยิ้ม อย่างประจบเอาใจ"สวยจัง น่ารักจัง ตัวนุ้มนุ่ม หอมด้วย" พูดพลางเบียดกระแซะเข้ามาหานาคสาว ผู้อ่อนต่อโลก"ไปว่ายน้ำเล่นทางโน้นดีกว่า" นาคสาว ว่ายน้ำตามไปอย่างเคลิบเคลิ้ม ในทีท่าและคารมของนาคหนุ่มรูปงาม เธอปักใจเชื่อว่า นาคหนุ่มนี้รักตนจริงๆเมื่อถึงถ้ำใต้น้ำเล็กๆ แห่งหนึ่งอยู่ในที่ ลับหูลับตา นาคหนุ่มก็ใช้ความเจนจัดชั้นเชิง เจ้าชู้กับสาวนาค จนเธอไม่สามารถควบคุม อารมณ์และความต้องการของธรรมชาติใน ตัวตนได้สัมพันธ์สวาทอันลึกซึ้งที่เธอได้รับคือ ความประทับใจครั้งแรกในชีวิต แต่สำหรับ นาคหนุ่ม มันคือประสบการณ์ของลูกผู้ชาย นาค ไม่ใช่ความรัก แต่เป็นความสำเร็จ และความภาคภูมิใจในชั้นเชิงเจ้าชู้ของเขา ที่ สามารถทำให้นาคสาวตกลงปลงใจได้โดย ง่ายดายส่วนเรื่องกามนั้น พญานาคจะมีเรื่อง ทะเลาะกันก็เพราะเรื่องกามนี้ เป็นหลัก คดีที่เกิดขึ้นมักจะ เป็นเรื่องเหล่านี้ ผู้ปกครองต้อง ตัดสินเกี่ยวกับเรื่องผัวๆ เมียๆ ตลอดเวลา ดังเช่นคดีตัวอย่าง อีกคดีหนึ่ง เกิดขึ้นที่เมืองของ เจ้าแม่สองนางเรื่องมีอยู่ว่า บริวารของ เจ้าแม่สองนาง ล้วนแต่เป็นหญิง ส่วนหนึ่งจะมีวิบากกรรมเรื่อง ไร้คู่ครอง อีกส่วนหนึ่งสามารถมีคู่ครองได้ แต่ เมื่อมีคู่ครองแล้วต้องย้ายไปอยู่กับคู่ครอง ซึ่ง อยู่อีกเมืองหนึ่ง ปล่อยให้อยู่ในเมืองเดียวกัน ไม่ได้ เพราะเมืองของเจ้าแม่สองนางนั้น มีแต่ ผู้หญิงล้วน ถ้ามีผู้ชายเข้ามาอยู่ ก็อาจจะเกิด ปัญหาเรื่องชู้สาวขึ้นมาได้ง่าย

ครั้งหนึ่งบริวารหนุ่มของสุวรรณมธุรนาคราชตนหนึ่ง มีนิสัยเจ้าชู้ นาคหนุ่มนั้นรู้ ดีว่าเมืองเจ้าแม่สองนาง เต็มไปด้วยนางนาค มาณวิกา สวยๆ สาวๆ แรกรุ่นดรุณีทั้งนั้น จึงหาเวลาว่างตอนออกจากเวรหน้าที่ของตน ออกไปว่ายน้ำนอกเมือง คอยหาโอกาสจีบ นางนาคของเมืองเจ้าแม่สองนาง ขณะที่เธอ ออกมาว่ายน้ำเล่นมีนางนาคตนหนึ่งออกมาว่ายน้ำเล่น ตามลำพัง ด้วยความคึกคะนองของนาคหนุ่ม ก็โผเข้าใส่ทันที เอาหางเกี่ยวกระหวัดรัดร่าง นาคสาว กระตุกเบาๆ เป็นเชิงทักทาย นาง นาคน้อยสะดุ้ง สั่นสะท้านไปทั้งตัว เมื่อถูก ลวนลามเธอตกใจร้องลั่น"จะทำอะไรน่ะ ปล่อยนะ อย่านะ อย่า ปล่อยเดี๋ยวนี้นะ" ร้องไปดิ้นไป สะบัดตัวไปมา จนน้ำกระจาย เจ้านาคหนุ่มหัวเราะอย่างสบ อารมณ์ ในความไม่ประสีประสาของนาคสาว"โอ้ สาวน้อย แสนงาม อย่าดิ้นเลย ไม่ ได้ทำให้เจ็บสักหน่อย หยอกเล่นนิดเดียวน่านะ อย่าโกรธนะ รักกันนะ พี่รักเธอตั้งแต่แรกเห็น นะ" นาคหนุ่มค่อยๆ คลายรัดนาคสาว ยิ้ม อย่างประจบเอาใจ"สวยจัง น่ารักจัง ตัวนุ้มนุ่ม หอมด้วย" พูดพลางเบียดกระแซะเข้ามาหานาคสาว ผู้อ่อนต่อโลก"ไปว่ายน้ำเล่นทางโน้นดีกว่า" นาคสาว ว่ายน้ำตามไปอย่างเคลิบเคลิ้ม ในทีท่าและคารมของนาคหนุ่มรูปงาม เธอปักใจเชื่อว่า นาคหนุ่มนี้รักตนจริงๆเมื่อถึงถ้ำใต้น้ำเล็กๆ แห่งหนึ่งอยู่ในที่ ลับหูลับตา นาคหนุ่มก็ใช้ความเจนจัดชั้นเชิง เจ้าชู้กับสาวนาค จนเธอไม่สามารถควบคุม อารมณ์และความต้องการของธรรมชาติใน ตัวตนได้สัมพันธ์สวาทอันลึกซึ้งที่เธอได้รับคือ ความประทับใจครั้งแรกในชีวิต แต่สำหรับ นาคหนุ่ม มันคือประสบการณ์ของลูกผู้ชาย นาค ไม่ใช่ความรัก แต่เป็นความสำเร็จ และความภาคภูมิใจในชั้นเชิงเจ้าชู้ของเขา ที่ สามารถทำให้นาคสาวตกลงปลงใจได้โดย ง่ายดายเรื่องอาหารการกินของพญานาคใน กำเนิดโอปปาติกะ เกิดขึ้นจากบุญซึ่งตนเอง ทำไว้ในสมัยเป็นมนุษย์ ส่วนบริวารคือพวก ที่เกิดแบบสังเสทชะ เกิดในน้ำสกปรก ใน เหงื่อไคล ก็จะอาศัยอาหารการกินที่เกิด จากบุญของเจ้านายรวมกับบุญของตน รวมถึงการบริโภคสมบัติ ซึ่งแต่ละชิ้น ก็เกิดด้วยบุญ ใครจะแย่งชิงกัน หรือลักขโมย กันไม่ได้ เพราะบุญของผู้นั้นคุ้มครองสมบัติ ของตนเอาไว้ ปกครองกันแบบบุญญาธิปไตย ในเรื่องของเกียรติหรือศักดิ์ศรีก็แย่งกัน ไม่ได้เช่นเดียวกัน มีการแบ่งพื้นที่เขตแดนใน การดูแลตามกำลังบุญของตน หรือตามแต่ เจ้าเมืองนั้นจะมอบหมายให้ตามกำลังบุญ ไม่ มีการรบราฆ่าฟันเพื่อแย่งชิงพื้นที่กัน ยกเว้น พวกกำเนิดต่ำกว่า คือกำเนิดแบบอัณฑชะและชลาพุชะ บางครั้งจะมีการแย่งชิงพื้นที่หรือ หากินข้ามเขตกันบ้างเป็นครั้งคราวเรื่องยศถาบรรดาศักดิ์ ก็แบ่งกันตาม กำลังบุญ และตามกำเนิดสูงต่ำ จึงไม่มีการ ทะเลาะกันเรื่องตำแหน่งและเกียรติยศ ไม่ เหมือนมนุษย์ซึ่งยังแย่งชิงกัน ทั้งตำแหน่ง หน้าที่และการงานแท้จริงแล้วพญานาคก็คืออดีตมนุษย์ จึงต่างต้องวนเวียนตกเป็นทาสของกิเลสมาร อยู่ในทั้งสามเรื่องนี้เช่นเดียวกับมนุษย์ คือ เรื่องกิน กาม และเกียรติ เรื่องอาหารการกินของพญานาคใน กำเนิดโอปปาติกะ เกิดขึ้นจากบุญซึ่งตนเอง ทำไว้ในสมัยเป็นมนุษย์ ส่วนบริวารคือพวก ที่เกิดแบบสังเสทชะ เกิดในน้ำสกปรก ใน เหงื่อไคล ก็จะอาศัยอาหารการกินที่เกิด จากบุญของเจ้านายรวมกับบุญของตน รวมถึงการบริโภคสมบัติ ซึ่งแต่ละชิ้น ก็เกิดด้วยบุญ ใครจะแย่งชิงกัน หรือลักขโมย กันไม่ได้ เพราะบุญของผู้นั้นคุ้มครองสมบัติ ของตนเอาไว้ ปกครองกันแบบบุญญาธิปไตย

ในเรื่องของเกียรติหรือศักดิ์ศรีก็แย่งกัน ไม่ได้เช่นเดียวกัน มีการแบ่งพื้นที่เขตแดนใน การดูแลตามกำลังบุญของตน หรือตามแต่ เจ้าเมืองนั้นจะมอบหมายให้ตามกำลังบุญ ไม่ มีการรบราฆ่าฟันเพื่อแย่งชิงพื้นที่กัน ยกเว้น พวกกำเนิดต่ำกว่า คือกำเนิดแบบอัณฑชะและชลาพุชะ บางครั้งจะมีการแย่งชิงพื้นที่หรือ หากินข้ามเขตกันบ้างเป็นครั้งคราวเรื่องยศถาบรรดาศักดิ์ ก็แบ่งกันตาม กำลังบุญ และตามกำเนิดสูงต่ำ จึงไม่มีการ ทะเลาะกันเรื่องตำแหน่งและเกียรติยศ ไม่ เหมือนมนุษย์ซึ่งยังแย่งชิงกัน ทั้งตำแหน่ง หน้าที่และการงาน

บทความคัดลอก http://www.kalyanamitra.org/daily/dhamma/index.php?option=com_content&task=view&id=237&Itemid=2

ติรัจฉานวิชา



ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกอย่างหนึ่ง เมื่อปุถุชนกล่าวชมตถาคต พึงกล่าวเช่นนี้ว่า-
๑. พระสมณโคดม เว้นขาดจากการเลี้ยงชีพโดยทางผิดด้วยติรัจฉานวิชา เช่นอย่างที่สมณพราหมณ์ผู้เจริญบางจำพวกฉันโภชนะที่เขาให้ด้วยศรัทธาแล้ว ยังเลี้ยงชีพโดยทางผิดด้วยติรัจฉานวิชา ๑- เห็นปานนี้ คือ ทายอวัยวะ ทายนิมิต ทายอุปบาต ๒- ทำนายฝัน ทำนายลักษณะ ทำนายหนูกัดผ้า ทำพิธีบูชาไฟ ทำพิธีเบิกแว่นเวียนเทียน ทำพิธีซัดแกลบบูชาไฟ ทำพิธีซัดรำบูชาไฟ ทำพิธีซัดข้าวสารบูชาไฟ ทำพิธีเติมเนยบูชาไฟ ทำพิธีเติมน้ำมันบูชาไฟ ทำพิธีเสกเป่าบูชาไฟ ทำพลีกรรมด้วยโลหิต เป็นหมอดูอวัยวะ ดูลักษณะที่บ้าน ดูลักษณะที่นา เป็นหมอปลุกเสก เป็นหมอผี เป็นหมอลงเลขยันต์คุ้มกันบ้านเรือน เป็นหมองู เป็นหมอยาพิษ เป็นหมอแมลงป่อง เป็นหมอรักษาแผลหนูกัด เป็นหมอทายเสียงนก เป็นหมอทางเสียงกา เป็นหมอทายอายุ เป็นหมอเสกกันลูกศร เป็นหมอทายเสียงสัตว์.
๒. พระสมณโคดม เว้นขาดจากการเลี้ยงชีพโดยทางผิดด้วยติรัจฉานวิชา เช่นอย่างที่สมณพราหมณ์ผู้เจริญบางจำพวกฉันโภชนะที่เขาให้ด้วยศรัทธาแล้ว ยังเลี้ยงชีพโดยทางผิดด้วยติรัจฉานวิชาเห็นปานนี้ คือ ทายลักษณะแก้วมณี ทายลักษณะไม้พลอง ทายลักษณะผ้าทายลักษณะศาตรา ทายลักษณะดาบ ทายลักษณะศร ทายลักษณะธนู ทายลักษณะอาวุธทายลักษณะสตรี ทายลักษณะบุรุษ ทายลักษณะกุมาร ทายลักษณะกุมารี ทายลักษณะทาสทายลักษณะทาสี ทายลักษณะช้าง ทายลักษณะม้า ทายลักษณะกระบือ ทายลักษณะโคอุสภะ
๑. หมายเอาวิชาที่ขวางทางสวรรค์ทางนิพพาน ซึ่งไม่เป็นประโยชน์แก่ธรรมปฏิบัติ.
๒. คือสิ่งที่ตกจากเบื้องบน เช่นอสนีบาตเป็นต้น.
ทายลักษณะโค ทายลักษณะแพะ ทายลักษณะแกะ ทายลักษณะไก่ ทายลักษณะนกกระทาทายลักษณะเหี้ย ทายลักษณะตุ่น ทายลักษณะเต่า ทายลักษณะมฤค.
๓. พระสมณโคดม เว้นขาดจากการเลี้ยงชีพโดยทางผิดด้วยติรัจฉานวิชา เช่นอย่างที่สมณพราหมณ์ผู้เจริญบางจำพวกฉันโภชนะที่เขาให้ด้วยศรัทธาแล้ว ยังเลี้ยงชีพโดยทางผิดด้วยติรัจฉานวิชาเห็นปานนี้ คือ ดูฤกษ์ยาตราทัพว่า พระราชาจักยกออก พระราชาจักไม่ยกออกพระราชาภายในจักยกเข้าประชิด พระราชาภายนอกจักถอย พระราชาภายนอกจักยกเข้าประชิดพระราชาภายในจักถอย พระราชาภายในจักมีชัย พระราชาภายนอกจักปราชัยพระราชาภายนอกจักมีชัย พระราชาภายในจักปราชัย พระราชาพระองค์นี้จักมีชัย พระราชาพระองค์นี้จักปราชัยเพราะเหตุนี้ๆ.
๔. พระสมณโคดม เว้นขาดจากการเลี้ยงชีพโดยทางผิดด้วยติรัจฉานวิชา เช่นอย่างที่สมณพราหมณ์ผู้เจริญบางจำพวกฉันโภชนะที่เขาให้ด้วยศรัทธาแล้ว ยังเลี้ยงชีพโดยทางผิดด้วยติรัจฉานวิชาเห็นปานนี้ คือ พยากรณ์ว่า จักมีจันทรคราส จักมีสุริยคราส จักมีนักษัตรคราสดวงจันทร์ดวงอาทิตย์จักเดินถูกทาง ดวงจันทร์ดวงอาทิตย์จักเดินผิดทาง ดาวนักษัตรจักเดินถูกทางดาวนักษัตรจักเดินผิดทาง จักมีอุกกาบาต จักมีดาวหาง จักมีแผ่นดินไหว จักมีฟ้าร้องดวงจันทร์ดวงอาทิตย์และดาวนักษัตรจักขึ้น ดวงจันทร์ดวงอาทิตย์และดาวนักษัตรจักตก ดวงจันทร์ดวงอาทิตย์และดาวนักษัตรจักมัวหมอง ดวงจันทร์ดวงอาทิตย์และดาวนักษัตรจักกระจ่าง จันทรคราสจักมีผลเป็นอย่างนี้ สุริยคราสจักมีผลเป็นอย่างนี้ นักษัตรคราสจักมีผลเป็นอย่างนี้ ดวงจันทร์ดวงอาทิตย์เดินถูกทางจักมีผลเป็นอย่างนี้ ดวงจันทร์ดวงอาทิตย์เดินผิดทางจักมีผลเป็นอย่างนี้
ดาวนักษัตรเดินถูกทางจักมีผลเป็นอย่างนี้ ดาวนักษัตรเดินผิดทางจักมีผลเป็นอย่างนี้ มีอุกกาบาตจักมีผลเป็นอย่างนี้ มีดาวหางจักมีผลเป็นอย่างนี้ แผ่นดินไหวจักมีผลเป็นอย่างนี้ ฟ้าร้องจักมีผลเป็นอย่างนี้ ดวงจันทร์ดวงอาทิตย์และดาวนักษัตรขึ้นจักมีผลเป็นอย่างนี้ ดวงจันทร์ดวงอาทิตย์และดาวนักษัตรตกจักมีผลเป็นอย่างนี้ ดวงจันทร์ดวงอาทิตย์และดาวนักษัตรมัวหมองจักมีผลเป็นอย่างนี้ ดวงจันทร์ดวงอาทิตย์และดาวนักษัตรกระจ่างจักมีผลเป็นอย่างนี้.
๕. พระสมณโคดม เว้นขาดจากการเลี้ยงชีพโดยทางผิดด้วยติรัจฉานวิชา เช่นอย่างที่สมณพราหมณ์ผู้เจริญบางจำพวกฉันโภชนะที่เขาให้ด้วยศรัทธาแล้ว ยังเลี้ยงชีพโดยทางผิดด้วยติรัจฉานวิชาเห็นปานนี้ คือ พยากรณ์ว่า จักมีฝนดี จักมีฝนแล้ง จักมีภิกษาหาได้ง่ายจักมีภิกษาหาได้ยาก จักมีความเกษม จักมีภัย จักเกิดโรค จักมีความสำราญหาโรคมิได้ หรือนับคะแนนคำนวณ นับประมวล แต่งกาพย์ โลกายตศาสตร์ ๑-
๖. พระสมณโคดม เว้นขาดจากการเลี้ยงชีพโดยทางผิดด้วยติรัจฉานวิชา เช่นอย่างที่สมณพราหมณ์ผู้เจริญบางจำพวกฉันโภชนะที่เขาให้ด้วยศรัทธาแล้ว ยังเลี้ยงชีพโดยทางผิดด้วยติรัจฉานวิชาเห็นปานนี้ คือ ให้ฤกษ์อาวาหมงคล ฤกษ์วิวาหมงคล ดูฤกษ์เรียงหมอนดูฤกษ์หย่าร้าง ดูฤกษ์เก็บทรัพย์ ดูฤกษ์จ่ายทรัพย์ ดูโชคดี ดูเคราะห์ร้าย ให้ยาผดุงครรภ์ร่ายมนต์ให้ลิ้นกระด้าง ร่ายมนต์ให้คางแข็ง ร่ายมนต์ให้มือสั่น ร่ายมนต์ไม่ให้หูได้ยินเสียงเป็นหมอทรงกระจก เป็นหมอทรงหญิงสาว เป็นหมอทรงเจ้า บวงสรวงพระอาทิตย์ บวงสรวงท้าวมหาพรหม ร่ายมนต์พ่นไฟ ทำพิธีเชิญขวัญ.
๗. พระสมณโคดม เว้นขาดจากการเลี้ยงชีพโดยทางผิดด้วยติรัจฉานวิชา เช่นอย่างที่สมณพราหมณ์ผู้เจริญบางจำพวกฉันโภชนะที่เขาให้ด้วยศรัทธาแล้ว ยังเลี้ยงชีพโดยทางผิดด้วยติรัจฉานวิชาเห็นปานนี้ คือ ทำพิธีบนบาน ทำพิธีแก้บน ร่ายมนต์ขับผี สอนมนต์ป้องกันบ้านเรือน ทำกะเทยให้กลับเป็นชาย ทำชายให้กลายเป็นกะเทย ทำพิธีปลูกเรือน ทำพิธีบวงสรวงพื้นที่ พ่นน้ำมนต์ รดน้ำมนต์ ทำพิธีบูชาไฟ ปรุงยาสำรอก ปรุงยาถ่าย ปรุงยาถ่ายโทษเบื้องบน ปรุงยาถ่ายโทษเบื้องล่าง ปรุงยาแก้ปวดศีรษะ หุงน้ำมันหยอดหู ปรุงยาตา ปรุงยานัดถุ์ปรุงยาทากัด ปรุงยาทาสมาน ป้ายยาตา ทำการผ่าตัดรักษาเด็ก ใส่ยา ชะแผล
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ข้อที่ปุถุชนกล่าวชมตถาคต จะพึงกล่าวด้วยประการใด ซึ่งมีประมาณน้อย ยังต่ำนัก เป็นเพียงศีลนั้นเท่านี้แล.

จบมหาศีล.

วันพฤหัสบดีที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

วิธีการตัดกรรมที่ถูกต้อง

การอยู่กับปัจจุบัน ไม่เอาความผิดพลาดในอดีตมาครุ่นคิดให้เป็นทุกข์นั้น เป็นเพียงการทำให้วิบากหรือผลของกรรมในอดีตนั้นไม่เพิ่มพูนขึ้นเท่านั้น แต่ไม่สามารถตัดกรรมหรือวิบากกรรมได้ กรรมใด ๆ ที่ทำไปแล้ว เราไม่สามารถแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้ (เว้นแต่จะย้อนเวลากลับไป แต่นั่นยังเป็นแค่นิยายอยู่)
เมื่อไม่สามารถแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้ วิบากกรรมก็ต้องเกิดขึ้นและอาจส่งผลมาถึงปัจจุบัน สิ่งที่เราควรทำก็คือยอมรับผลแห่งกรรมนั้น ไม่ตีโพยตีพาย ถ้าสามารถทำใจให้ไม่เป็นทุกข์เมื่อประสบวิบากกรรมนั้นก็ยิ่งดี เพราะหากเป็นทุกข์ก็ย่อมนำไปสู่การปรุงแต่งหรือเกิดการกระทำอันใหม่ขึ้นที่ไม่ดี (เช่น กังวลหงุดหงิดจนกินไม่ได้นอนไม่หลับ หรือระบายความทุกข์ใส่คนอื่น หรือโกรธจนต้องแก้แค้นตอบโต้กลับไป) ทำให้เกิดวิบากตามมาอีก
การตัดกรรมและการแก้กรรมนั้น เป็นสิ่งที่ทำไม่ได้ดังที่กล่าวไปแล้ว เป็นแค่สำนวนหรือคำพูดที่จูงใจเท่านั้น แต่ไม่มีในคำสอนของพระพุทธเจ้า สิ่งที่ทำได้นอกจากที่กล่าวมาก็คือ สร้างกรรมดีขึ้นมาเพื่อบรรเทาผลแห่งกรรมนั้น เปรียบเหมือนกับการเติมน้ำที่ใสสะอาดลงในภาชนะที่มีน้ำดำคล้ำ ยิ่งเติมน้ำใสลงไปมากเท่าไหร่ น้ำในภาชนะก็จะคล้ำน้อยลง ที่เป็นเช่นนั้นไม่ใช่เพราะฝุ่นโคลนลดน้อยลง มันยังเท่าเดิม แต่ผลเสียลดน้อยลงเพราะมีน้ำที่ใสสะอาดมาช่วยบรรเทา


บทความคัดลอก(วิสัชนา หลวงพ่อไพศาล วิสาโล)http://www.visalo.org/QA/Q551115.htm

ตัณหา พาเศร้า


ตัณหา ๓

ขอให้รู้จักความอยาก โดยความหมาย มีสองชนิด ในภาษาไทย
อย่างนี้ ในภาษาบาลี ถ้าจะเรียกว่า กิเลสตัณหา หรือ ความโลภ
แล้ว ต้องเป็น เรื่องที่มาจากอวิชชา ถ้ามาจากวิชชา ก็เรียกเป็น
อย่างอื่น เรียกว่าเป็น ความปรารถนา หรือ ความต้องการ หรือ
ความขยัน ขันแข็ง ในหน้าที่การงาน ไปเสียทางโน้น ไม่ได้เป็น
เหตุ ให้เกิดความทุกข์ แต่ว่ากลับเป็น สิ่งที่จะทำลายความทุกข์
ความต้องการที่มันมีถูกต้อง แทนที่จะเป็นเหตุให้เกิดทุกข์
กลายเป็นเรื่องจะดับความทุกข์ ความอยาก ในภาษาไทย
ภาษากำกวม เพราะว่า เราไม่มี ความหมาย รัดกุม เหมือน
ภาษาบาลี ให้รู้กันไว้อย่างนี้

กามตัณหา

นี้อย่างที่หนึ่ง อยากในกาม กามตัณหา ก็ด้วยความโง่ ความหลง
ความยึดมั่น ถือมั่น ด้วยอวิชชา จึงอยากในกาม มันก็เร่าร้อน
ตั้งแต่เริ่มอยาก แล้วก็เริ่มประพฤติ ปฏิบัติ กระทำลงไป แต่ข้อนี้
สำหรับ ฆราวาสทั่วไป เขาก็มิได้หมายความว่า จะไม่ต้องเกี่ยว
ข้องกับกาม เพราะคำว่า กาม มีความหมาย หลายอย่าง, กาม
เรื่องเกี่ยวกับเพศ เพศหญิง เพศชาย นี้ก็กาม นี้ส่วนที่มันเนื่อง
กัน ไม่ถึงขนาดนั้น ก็ยังเรียกว่า กาม เช่น ชอบอาหารเอร็ดอร่อย
ชอบเสียงไพเราะ แม้ยังไม่เกี่ยวกับเพศ ก็ยังเรียกว่า กาม
เหมือนกัน เพราะมันเนื่องกัน โดยส่วนลึก

ถ้าเราไปเกี่ยวข้องด้วย คือ ไปอยากด้วยความโง่ ความหลงอะไร
มันก็เกิดสิ่งเร่าร้อน หรือเป็นทุกข์ขึ้นมา แต่ถ้าต้องไปเกี่ยวข้อง
ด้วย สติสัมปชัญญะ ก็มีความเป็นกามน้อยลง แม้เรื่องเพศ ที่จะ
ประกอบกิจกรรมทางเพศ ด้วยความรู้สึก ที่เป็นหน้าที่ของฆราวาส
แล้วก็ทำไปด้วย สติสัมปชัญญะ อย่างนี้ ความที่เรียกว่า เป็นกาม
มันก็น้อยลง มันก็มีความเป็น กามตัณหา น้อยลง ถ้าสมมติว่า
บริสุทธิ์ใจจริงๆ ในการที่จะทำเพียง หน้าที่ เพื่อการสืบพันธุ์ ล้วนๆ
ถ้ามันเป็นสิ่งที่ ปฏิบัติได้ มันก็ไม่ถึงกับจัดว่า เป็นกาม มันกลาย
เป็นหน้าที่ ไปก็ได้ แต่ตามปกติ ไม่มีใครทำได้ เพราะว่าธรรมชาติ
มันลึกกว่า มันลึกซึ้งกว่า มันใส่กาม ไว้กับการสืบพันธุ์ ซึ่งเป็นสิ่งที่
ไม่ค่อยมีใคร ชอบทำกันนัก แต่โดยเหตุ มันเอากาม มาจ้าง เอา
ความรู้สึก ทางกามนี้ มาจ้างให้ สัตว์ทั้งหลาย ทำหน้าที่สืบพันธุ์
มันยุ่งยาก ลำบาก เท่าไร มันก็ยอมทน

นี้ถ้าเราไปโง่ ไปหลงกินเหยื่อ ของธรรมชาติ อันนี้เข้า มันก็เกิด
ความทุกข์ จากสิ่งที่เรียกว่า กามตัณหา เมื่อคนยังมี อวิชชา อยู่
มันก็ต้องโง่ ก็ต้องตกเป็นเหยื่อ ของสิ่งนี้  เป็นทาสของอวิชชา
เป็นทาสของตัณหา แล้วคนยอมลำบาก ให้สิ่งที่เรียกว่า ตัณหา
โดยเฉพาะกามตัณหานี้ เคี้ยวกิน ภาษาบาลีเขาใช้คำว่า เคี้ยวกิน
คือ คนมันเป็นทาส ของกามตัณหา ยอมทนลำบาก นานาประการ
เพื่อจะให้ได้มา นี้คือสิ่งที่เรียกว่า กามตัณหา หมายถึง เรื่องเพศ
โดยตรง

สิ่งที่เป็นอุปกรณ์ทางเพศ ความไพเราะ สนุกสนาน เอร็ดอร่อย
แม้ไม่เกี่ยวกับเพศ โดยตรง มันก็เป็นกาม นี้ไปเกี่ยวกับเพศ
โดยตรง แล้วยิ่งเป็นกาม อย่างยิ่ง นี้อย่างที่หนึ่ง เรียกว่า
กามตัณหา

ภวตัณหา

อย่างที่สอง ก็คือว่า อยากเป็น ความเป็นอย่างไรที่น่าเป็น
เรียกว่า ภ.สำเภา ว.แหวน ภวตัณหา คือภพ แปลว่า เป็น
ภวตัณหา แปลว่า อยากเป็น นี่ก็อยาก ด้วยอวิชชา อีกเหมือนกัน
อยากเป็นนั่นเป็นนี่ ที่มันยั่วกิเลส ยั่วความอยาก บางทีมันก็ปนเป
กับกามตัณหา เช่น อยากเป็นหญิง อยากเป็นชาย อยากเป็นนั่น
เป็นนี่ ที่มันไปเกี่ยวกับทางเพศ ก็มี อยากเป็นใหญ่เป็นโต อยาก
มีหน้ามีตา อยากเป็นผู้มีชื่อเสียง อยากเป็นผู้มีอำนาจวาสนา

ถ้าทำไปด้วยความโง่ ของอวิชชา มันก็รุนแรง แล้วเป็นภวตัณหา
แล้วก็เกิดทุกข์ แต่ถ้าเรามี ความรู้สึก ผิดชอบชั่วดี มีวิชชา เช่นว่า
เป็นนักศึกษา อย่างที่นั่งอยู่นี้ ก็อยากจะเป็น นักศึกษาที่ดี ที่ถูกต้อง
ตรงตามความหมาย อย่างนี้ก็ไม่ใช่ตัณหา ไม่ใช่ภวตัณหา เพราะ
มันไม่ได้ทำไป ด้วยอวิชชา ทำไปด้วยสติสัมปชัญญะ ด้วยปัญญา
อยากเป็นนักเรียนที่ดี อยากเป็นนักศึกษาที่ดี แม้ที่สุด แต่ว่าอยาก
จะเป็น พ่อบ้าน แม่เรือน ที่ดี ถ้ามันไม่ได้ทำไป ด้วยความโง่ ด้วย
อวิชชา ด้วยความไม่รู้เท่า ในสิ่งเหล่านี้แล้ว ก็ไม่ถูกจัดเป็นตัณหา
แต่เป็นความปรารถนา ความต้องการ ที่ควรจะปรารถนา ฉะนั้น
ขอให้มัน แน่ลงไปทีว่า มันอยากด้วยวิชชา หรือ อยากด้วยอวิชชา

แล้วก็อย่าลืม อย่างเดียวกันอีก เชื่อว่า คนบางพวก อาจารย์บาง
หมู่ เขาสอนกันลงไปตรงๆเลย ขึ้นชื่อว่า ความอยากแล้ว เป็น
กิเลสตัณหา ไปหมด นี้ผมไม่ถืออย่างนั้น ไม่เข้าใจอย่างนั้น
หลังจากที่ได้ศึกษา มาถึงป่านนี้แล้ว ไม่ทำให้เข้าใจอย่างนั้น
ถ้าเผื่ออยากเป็นอะไร ให้มันดีขึ้นไป ให้มันถูกต้อง ให้มันสำเร็จ
ประโยชน์ ด้วยการรู้สึกตัวนี้ ไม่เรียกว่า ตัณหา

ยกตัวอย่าง เช่นว่า อยากเป็นเทวดานี้ มันก็อยากด้วยอวิชชา
ถ้าไปพิจารณาดูให้ดี แล้วเทวดานี้ มันไม่น่าเป็นดอก แล้วมัน
ก็ไม่อยาก เองแหละ ก็มันมีอะไรที่น่าเป็น ที่ควรจะเป็น มีความ
รู้สึกผิดชอบชั่วดี พิจารณาดูแล้ว มันควรจะเป็น หรือควรจะรับ
หน้าที่ อันนั้น มันก็เป็นได้ โดยไม่ต้องเป็นตัณหา อย่างจะเป็น
อาจารย์อย่างนี้ เป็นตัณหาก็ได้ ไม่เป็นตัณหาก็ได้ มันแล้วแต่
ความอยากนั้น มีมูลมาจากอะไร จากความรู้สึกผิดชอบชั่วดี
ถูกต้องสมบูรณ์นี้ มันก็ไม่ต้องเป็นตัณหา หรือถ้ายิ่งไปกว่านั้น
อยากจะเป็น ผู้ครองบ้าน ครองเมือง ก็ต้องรู้โดย หลักเกณฑ์
อันเดียวกัน ถ้าทำไปด้วยความโลภ ด้วยความโง่ ด้วยความหลง
ด้วยความยึดมั่น มันแล้ว มันก็เป็น ตัณหาทั้งนั้น แล้วก็เป็น
ความทุกข์ แต่ถ้าเป็นความรู้สึกผิดชอบ ชั่วดี มีเหตุผล มีความ
ลืมหูลืมตา มีสติสัมปชัญญะอยู่ รู้ว่าเป็นหน้าที่ ที่จะต้องช่วยเหลือ
เพื่อนมนุษย์ด้วยกัน อย่างนี้ ไม่เป็นตัณหา ไม่เป็นกิเลสตัณหา

แต่แล้ว มันก็หายากนะ หาโอกาสยากนะ หรือว่า เขาสมมติว่า
พระพุทธเจ้า ท่านตั้งความปรารถนา ที่จะเป็นพระพุทธเจ้า นี้
ด้วยเหตุผลอย่างนั้นๆ ตามที่มีอยู่ในพระคัมภีร์ อย่างนี้จะเรียก
ว่า เป็นตัณหาไม่ได้ มันเป็นความปรารถนา แม้จะทำรุนแรง
เป็นการอธิษฐานจิต ตั้งสัจจาทิฎฐาน อะไรนี้ ก็ไม่เป็นตัณหา
ได้ เพราะทำได้ ด้วยความรู้สึก ผิดชอบชั่วดี ของวิชา ของสติ
สัมปชัญญะ การที่อยากเป็นอะไร ด้วยความลุ่มหลง ในผลของ
การที่จะได้เป็นแล้ว มันก็เป็นตัณหา

วิภวตัณหา

นี้มาถึง อันที่สาม ก็เป็น วิภวตัณหา อยากไม่เป็น อยากไม่เป็น
อย่างนั้น อยากไม่เป็นอย่างนี้ กระทั่ง อยากไม่เป็น เสียเลย ไม่
เป็นอยู่เลย เช่น อยากตาย เป็นต้น พวกอยากเป็นนั่น เป็นนี่ มัน
อาศัย สัสสตทิฎฐิ ยึดมั่นถือมั่น ในความเป็นอยู่ อย่างเที่ยงแท้
ถาวร พอมาถึงตอนนี้ มันเกิด อุจเฉททิฎฐิ เชื่อว่าต้องขาดสูญ
หรือไม่ได้เป็นอยู่ อย่างถาวร อุจเฉททิฎฐิ นี้ มันชักจูงตัณหา
ให้เกิด ภวตัณหา ไม่อยากเป็น ไม่อยากเป็นนั่น ไม่อยากเป็นนี่
ก็ด้วยความโง่ ไม่ใช่ไม่อยากเป็น ด้วยความรู้ที่ถูกต้อง มันไม่
อยากเป็น ด้วยความโง่ ความเอือมระอา ความอะไรที่เป็นความ
โง่ จนกระทั่ง อยากตาย แล้วก็ฆ่าตัวตาย เป็นต้น นี้ผู้ที่จะ
ปราศจากตัณหาแล้ว ก็จะไม่มี ความอยากอย่างนี้ ความอยาก
ไม่เป็นนั่น ไม่เป็นนี่ นี้ก็เร่าร้อน เหมือนกันแหละ

คุณลองสังเกตดู เมื่อรู้สึกว่า เราไม่ได้อะไร อย่างอก อย่างใจ
มันก็เดือดร้อน แล้วก็เป็นทุกข์ ฉะนั้นอย่าได้มี ตัณหาสามอย่าง
นี้ แล้วก็ไม่มีทุกข์ ชนิดที่ระบุไปว่า ตัณหาสามอย่างนี้ เป็นเหตุ
ให้เกิดทุกข์

ทีนี้ ที่ละเอียดยิ่งขึ้นไป พระพุทธเจ้าท่านตรัส ระบุตัณหาไว้ว่า
โปโนพฺภวิกา นนฺทิราค สหคตา ตตฺร ตตฺราภินนฺทินี นี่ นันทิราคะ
สะหะคะตา นี้คือ กามตัณหาโดยตรง แล้วก็ปัญหานอกนั้น โดย
อ้อมก็ได้ ตัตตร ตัตตราภินันทิ นันทินี นี้มันหลงใหล เคลิบเคลิ้ม
อยู่ในสิ่งนั้นๆ แล้วก็มีคำว่า โปโนพฺภวิกา เป็นไปเพื่อให้เกิดภพ
ใหม่ เกิดชาติใหม่นี่ พอเราอยาก มีตัณหาขึ้นมาแล้ว เราจะ
รู้สึกว่า เราอยาก เราผู้อยาก ฉันอยาก กูอยาก อะไรก็เดือด
พล่านอยู่นี้ นี่เรียกว่า เกิดตัวกูตัวใหม่ขึ้นมา หลังจากเกิดความ
อยากอย่างนี้ก็เรียก่า โปโนพฺภวิกา ได้ เมื่อเราอยู่เฉยๆ เรา
ไม่รู้สึกว่า มีตัวเรา หรือ เราตัองการอะไร แต่พอมีการกระทำ
ให้เกิดความอยากแล้ว หลังจากความอยากแล้ว ต้องเกิดความ
ยึดถือ เป็นอุปาทานแล้ว ตัวกูนี้ จะเอาให้ได้ คือตัวกูมันอยาก
มันจึงเห็นได้ชัดว่า ตัณหานี้ มันเป็นเหตุ ให้เกิดตัวกู คือ ชาติ
แห่งตัวกู อันใหม่ขึ้นมา เกิดอย่างนี้บ่อยๆ บ่อยๆ ก็คือ ใหม่
เรื่อยไปทุกที อันนี้จะเห็นชัดในเรื่องของ ปฏิจจสมุปบาท

นี้ผมพูดโดยอริยสัจจ์เล็ก ว่า เหตุให้เกิดทุกข์นั้น คือ ตัณหา
สามประการ สรุปโดยย่อว่า ความอยากที่มาจากอวิชชา ไม่รู้
ตามที่เป็นจริง มันก็อยาก ไปในรูปของกาม เรื่องเพศบ้าง ถ้า
อยาก ไปในเรื่องของภพ คือ เป็นนั่นเป็นนี่ แม้ไม่เกี่ยวกับ
กามบ้าง แล้วเป็นวิภพ คือ ไม่อยากเป็นนั่นเป็นนี่.


คัดลอกจาก  http://www.buddhadasa.com/dhamanukom/tanha62.html 

วันพุธที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

สัญโยชน์ 10

สัญโยชน์ 10
สัญโยชน์ หรือสังโยชน์ หรือสัญโญชน์ คือเครื่องผูกจิตเอาไว้ให้ติดอยู่กับสิ่งต่างๆ รวมถึงภพภูมิต่างๆ และวัฏสงสาร ทำให้จิตไม่เป็นอิสระ ต้องตกเป็นทาสของสิ่งเหล่านั้น สิ่งเหล่านั้น จึงสามารถฉุดกระชากลากจูงจิต ให้ต้องทนทุกข์ทรมานต่างๆ นานา ไม่อาจพ้นจากทุกข์ไปได้
เปรียบเหมือนเชลยที่ถูกข้าศึกเอาเชือกล่าม แล้วใช้ม้าลากให้เชลยนั้นถูลู่ถูกังไปกับพื้น ต้องทนทุกข์ทรมานอย่างแสนสาหัสโดยไม่ปรานี

สัญโยชน์ 10 นี้มีอวิชชาเป็นแม่ทัพที่คอยบงการให้เสนาทั้ง 9 ลากจูงจิตไปในทิศทางต่างๆ เมื่อเสนาใดมีกำลังมากกว่าก็จะฉุดกระชากจิต ให้ถูลู่ถูกังไปในทิศทางของตน (ดูภาพด้านล่างประกอบ)

สัญโยชน์ 10 ประกอบด้วย

1.) สักกายทิฏฐิ : ความเห็นว่ารูปนี้นามนี้หรือกายนี้ใจนี้เป็นอัตตา เป็นตัวเป็นตนของเรา ควรแก่การยึดมั่นถือมั่น ผูกจิตไว้กับความเห็นแก่ตัวอย่างเหนียวแน่น

2.) วิจิกิจฉา : ความลังเลสงสัย ไม่แน่ใจ ไม่ปักใจเชื่อในสิ่งเหล่านี้คือ

สงสัยว่าพระพุทธเจ้าผู้รู้ทางปฏิบัติเพื่อความพ้นทุกข์อย่างสิ้นเชิง และปฏิบัติตามทางนั้นจนสำเร็จ ด้วยตัวพระองค์เองมาแล้ว มีจริงหรือไม่ (สงสัยในพระพุทธเจ้า)
สงสัยว่าสภาวะที่พ้นทุกข์อย่างสิ้นเชิง และทางปฏิบัติเพื่อเข้าสู่สภาวะนั้น มีจริงหรือไม่ และทางไหนกันแน่ที่ถูกต้องแท้จริง (สงสัยในพระธรรม)
สงสัยว่าผู้ปฏิบัติตามทางที่พระพุทธเจ้าแนะนำ จนพ้นทุกข์อย่างสิ้นเชิงแล้ว มีจริงหรือไม่ (สงสัยในพระสงฆ์)

ความไม่แน่ใจนี้ผูกจิตเอาไว้กับความไม่แน่วแน่ หรือความไม่จริงจังในการปฏิบัติในทางที่ถูก

3.) สีลพตปรามาส : การถือศีลพรตด้วยจุดมุ่งหมายที่ผิดทาง ทำให้ไม่ได้ประโยชน์จากศีลหรือพรตนั้น อย่างที่ควรจะเป็น ซึ่งอาจถึงขั้นได้รับโทษจากการถือศีลพรตนั้นเลยก็ได้ เช่น กิเลสหรือมานะ (ความถือตัว)งอกเงยขึ้น กลายเป็นคนหลงงมงาย หรือเป็นทุกข์ไปโดยเปล่าประโยชน์

สีลพตปรามาสนี้ผูกจิตไว้กับการปฏิบัติที่ผิดทาง หรือการปฏิบัติอย่างงมงาย

4.) กามฉันทะ : ความยินดี เพลิดเพลินในรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสทางกาย หรือเพลิดเพลินในความคิด อันเกี่ยวเนื่องด้วยรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสทางกายนั้น\

กามฉันทะนี้ผูกจิตไว้ให้ต้องตกเป็นทาสของรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสทางกาย เหมือนปลาที่ติดเบ็ดเพราะหลงใหลในเหยื่อที่ล่อเอาไว้ และผูกจิตไว้กับกามภูมิ

5.) ปฏิฆะ : ความกระทบกระทั่งภายในใจ ความขัดเคืองใจ ความโกรธ ความไม่สบายใจ ความเศร้าโศกเสียใจ

ปฏิฆะนี้ผูกจิตไว้กับความทุกข์ทางใจต่างๆ นานา

6.) รูปราคะ : ความยินดี เพลิดเพลินในสมาธิขั้นรูปสมาบัติ หรือรูปฌาน คือสมาธิที่ใช้รูปธรรมเป็นเครื่องยึด เพื่อทำให้เกิดสมาธิ ตัวอย่างรูปธรรมเช่น ดิน น้ำ ไฟ อาการเคลื่อนไหว(ลม) ร่างกาย อวัยวะต่างๆ แสงสว่าง สีต่างๆ สิ่งต่างๆ ที่เห็นในนิมิต (ภาพที่เกิดขึ้นขณะหลับตาทำสมาธิ)

รูปราคะนี้ผูกจิตไว้กับรูปภูมิ คือภูมิที่ผู้ได้สมาธิขั้นรูปฌานจะไปเกิดเมื่อตายจากโลกนี้ไปแล้ว ในภูมินี้จะมีความสุขจากสมาธิเป็นหลัก ไม่สนใจในกามคุณทั้งหลาย

7.) อรูปราคะ : ความยินดี เพลิดเพลินในสมาธิขั้นอรูปสมาบัติ หรืออรูปฌาน อันพ้นจากความยินดีพอใจในรูปทั้งปวง คือสมาธิที่ใช้อรูป คือสิ่งที่ไม่ใช่รูปเป็นเครื่องยึด เพื่อทำให้เกิดสมาธิ ตัวอย่างของอรูปเช่น ช่องว่าง(อากาศ) สิ่งที่รับรู้ความรู้สึก(วิญญาณ) ความไม่มีอะไรเลย(อากิญจัญญายตนสมาบัติ) ความรู้สึกที่เหลืออยู่น้อยมาก จนแทบไม่มีความรู้สึกตัวเลย(เนวสัญญานาสัญญายตนสมาบัติ) คนที่ได้อรูปฌานนั้น จะไม่ยินดีในรูปใดๆ เลย จะยินดีพอใจในการไม่มีรูปเท่านั้น ไม่ยินดีแม้กระทั่งการมีร่างกาย เพราะมองเห็นแต่ทุกข์ และโทษที่เกิดจากการมีร่างกาย เมื่อตายแล้วจึงไปเกิดในภูมิที่ไม่มีร่างกาย คือมีเฉพาะจิตเพลิดเพลินอารมณ์อันเกิดจากสมาธิอยู่ ที่เรียกว่าอรูปภูมิ

อรูปราคะนี้ผูกจิตไว้กับอรูปภูมิ

8.) มานะ : ความถือตัว ความรู้สึกว่ารูปนี้นามนี้หรือกายนี้ใจนี้เป็นเรา ทำให้เกิดการเปรียบเทียบกับผู้อื่น ว่าเราเหนือกว่าเขา เราเสมอกับเขา หรือเราด้อยกว่าเขา
มานะนี้ผูกจิตไว้กับการเปรียบเทียบกับผู้อื่น ความชิงดีชิงเด่น ความถือตัว

9.) อุทธัจจะ : ความฟุ้งซ่านของจิต เกิดจากความยึดมั่นถือมั่นของจิตคิดว่าสิ่งต่างๆ มีสาระ จิตจึงซัดส่ายไปหาสิ่งต่าง ๆ เหล่านั้นอยู่เนืองๆ ไม่อาจตั้งมั่นอยู่กับอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งอย่างแนบแน่น เป็นเวลานานๆ ได้

อุทธัจจะนี้ผูกจิตไว้กับความซัดส่ายรับอารมณ์ไม่มั่น

10.) อวิชชา : ความไม่รู้สภาวะที่แท้จริงของสรรพสิ่ง คือ ไม่รู้ในทุกข์ เหตุแห่งทุกข์(สมุทัย) สภาวะที่พ้นจากทุกข์อย่างสิ้นเชิง(นิโรธ-นิพพาน) ทางปฏิบัติเพื่อพ้นจากทุกข์อย่างสิ้นเชิง(มรรค) ไม่รู้ในกฎไตรลักษณ์ (อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา) ไม่รู้ในหลักปฏิจจสมุปบาท (การที่สิ่งต่างๆ อิงอาศัยสิ่งอื่นๆ จึงเกิดขึ้นได้) ไม่รู้เรื่องเหตุปัจจัย ไม่รู้ว่าสิ่งทั้งปวงล้วนไม่ควรค่าแก่การยึดมั่นถือมั่น

อวิชชานี้ผูกจิตไว้กับวัฏสงสาร ภพภูมิทั้งปวง ความทุกข์ทั้งปวง และผูกจิตไว้กับสัญโยชน์ทั้งปวง

บทความคัดลอก


http://www.dhammathai.org/treatment/nivorn/nivorn08.php

สภาวะทุกข์




ทุกข์เกิดจากอะไร
ทุกข์มี 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ

1.) ทุกข์ในอริยสัจ 4
2.) ทุกข์ในไตรลักษณ์

ทุกข์ในอริยสัจ 4 ก็คือทุกขเวทนาหรือความรู้สึกที่เป็นทุกข์ ซึ่งก็คือความทุกข์ในความหมายของคนทั่ว ๆ ไปนั่นเอง ทุกขเวทนามี 2 ทางคือ ทุกข์ทางกาย กับทุกข์ทางใจ

ทุกข์ทางกาย หมายถึงทุกข์ที่มีกายเป็นเหตุ ได้แก่ ทุกข์ที่เกิดจากความหนาว ความร้อน ความป่วยไข้ ความบาดเจ็บ ความหิวกระหาย ความเสื่อมสภาพของร่างกาย ทุกข์ที่เกิดจากการที่ต้องคอยประคบประหงม ดูแลบำรุงรักษาทำความสะอาดร่างกาย และความทุกข์อื่น ๆ อันมีกายเป็นต้นเหตุอีกเป็นจำนวนมาก ทุกข์ทางกายเหล่านี้เป็นสิ่งที่เกิดมาคู่กับร่างกาย เป็นสิ่งที่เลี่ยงได้ยาก ตราบใดที่ยังมีร่างกายอยู่ก็ต้องทนกับทุกข์ทางกายนี้เรื่อยไปไม่มีวันพ้นไปได้ แม้แต่องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าซึ่งเป็นผู้ที่สร้างสมบุญบารมีมาอย่างมากมาย มากกว่ามนุษย์และเทวดาทั้งหลาย ก็ยังต้องทนทุกข์ทางกายนี้จนกระทั่งถึงวันปรินิพพาน สมกับคำที่ว่า การเกิดทุกคราวเป็นทุกข์ร่ำไป

ทุกข์ทางใจ หมายถึงทุกข์ที่เกิดจากการปรุงแต่งของใจ ทุกข์ทางใจนี้ส่วนหนึ่งมีทุกข์ทางกายเป็นสิ่งเร้าให้เกิด เช่น เมื่อได้รับบาดเจ็บหรือป่วยไข้ขึ้นมาทำให้เกิดทุกข์ทางกายขึ้นแล้ว ต่อมาก็เกิดความกังวลใจ ความหวาดกลัวขึ้นมาอีกว่าอาจจะรักษาไม่หาย อาจจะต้องสูญเสียอวัยวะไป หรืออาจจะต้องถึงตาย ซึ่งความกังวลความหวาดกลัวเหล่านี้จะก่อให้เกิดทุกข์ทางใจขึ้นมา ทุกข์ทางใจอีกส่วนหนึ่งเกิดขึ้นโดยไม่มีทุกข์ทางกายเป็นต้นเหตุ เช่น ความทุกข์จากการประสบกับสิ่งที่ไม่เป็นที่รักที่พอใจ ความทุกข์จากการพลัดพรากจากสิ่งที่เป็นที่รักที่พอใจ ทุกข์จากการไม่ได้ในสิ่งที่ปรารถนา ทุกข์จากความโกรธความขัดเคืองใจ ทุกข์จากความกลัว ทุกข์จากความกังวลใจ ความคับแค้นใจ ทุกข์จากความกลัวว่าความสุขที่มีอยู่จะต้องหมดไป ทุกข์จากความกลัวความทุกข์ยากลำบากที่อาจจะมีขึ้นในอนาคต ทุกข์จากการกลัวความเสื่อมลาภ เสื่อมยศ เสื่อมสรรเสริญ และทุกข์ทางใจอื่น ๆ อีกนับไม่ถ้วน
กล่าวโดยสรุป ทุกข์ทางใจทั้งหมดล้วนมีต้นเหตุมาจากความโลภ ความโกรธ และความยึดมั่นถือมั่น .

ทุกข์จากความโลภ ตามหลักอภิธรรมแล้วความโลภจะไม่ประกอบด้วยความทุกข์ เพราะความโลภจะเกิดขึ้นพร้อมกับความดีใจ หรือเกิดพร้อมกับความรู้สึกเฉย ๆ ( อุเบกขา ) เท่านั้น ที่กล่าวว่าความทุกข์ที่มีต้นเหตุมาจากความโลภในที่นี้ ไม่ได้หมายความว่าความทุกข์นั้นเกิดพร้อมกับความโลภ แต่เป็นความทุกข์อันมีความโลภเป็นเบื้องต้น และมีความทุกข์เป็นเบื้องปลาย อันได้แก่ ความทุกข์ที่เกิดจากความกลัวจะไม่ได้ในสิ่งที่ตนอยากได้ ทุกข์จากการที่ต้องดิ้นรนขวนขวายเพื่อให้ได้ในสิ่งที่ตนอยากได้ เป็นต้น

ทุกข์จากความโกรธ ความโกรธนั้นไม่ว่าจะเกิดขึ้นเมื่อใดก็นำทุกข์มาให้เมื่อนั้น เพราะความโกรธจะทำให้จิตใจต้องเร่าร้อนดิ้นรน เกิดความกระทบกระทั่งภายในใจ ทำให้จิตใจเศร้าหมอง ความโลภนั้นในเบื้องต้นยังพอจะนำความสุขมาให้ได้บ้าง ( ในขณะที่เกิดความเพลิดเพลินยินดี ) แต่ความโกรธนั้นนำมาแต่ความทุกข์เพียงอย่างเดียวเท่านั้น ตัวอย่างของความทุกข์จากความโกรธเช่น ทุกข์จากความไม่พอใจ ขัดเคืองใจ คับแค้นใจ กังวลใจ ความกลัว ความหวาดระแวง ความมองโลกในแง่ร้าย ความไม่สบายใจ ความอิจฉาริษยา ความพยาบาทอาฆาตแค้น เป็นต้น

ทุกข์จากความยึดมั่นถือมั่น สิ่งทั้งหลายทั้งปวงไม่ว่าจะเป็นฝ่ายรูปธรรมหรือนามธรรม ไม่ว่าจะเป็นฝ่ายวัตถุหรือฝ่ายจิตใจก็ตาม ถ้าเราไปยึดมั่นถือมั่นเข้าแล้วก็ล้วนนำทุกข์มาให้ทั้งนั้น ไม่ว่าจะยึดว่าเป็นเรา เป็นของของเรา เป็นตัวเป็นตนของเรา ยึดว่าเป็นเขา เป็นของของเขา ยึดว่าเป็นสิ่งที่เราชอบใจ เป็นสิ่งที่เราไม่ชอบใจ ยึดว่าเป็นคนที่เคยทำร้ายเรา เคยด่าเรา ยึดว่าเป็นญาติพี่น้อง เป็นศัตรู เป็นครูอาจารย์ เป็นผู้ที่เราเคารพนับถือ ยึดว่าเป็นนาย เป็นบ่าว เป็นเพื่อน เป็นหน้าที่การงาน ฯลฯ ไม่มีสิ่งใดเลยที่ยึดมั่นถือมั่นแล้วจะไม่นำทุกข์มาให้ แม้แต่ยึดในบุญกุศล ความดี มรรค ผล นิพพาน ก็ตามที ( อริยบุคคลนั้นไม่ยึดในรูปนามทั้งหลาย ไม่ยินดีในการเกิดก็จริง แต่ก็ไม่ได้ยึดมั่นในมรรค ผล นิพพาน )
เพราะการยึดในสิ่งที่เราไม่ชอบใจก็ย่อมจะทำให้เกิดความขัดเคืองใจ โกรธ ไม่พอใจ คับแค้นใจ กลัว ฯลฯ พูดง่าย ๆ ก็คือเป็นต้นเหตุของความทุกข์จากความโกรธนั่นเอง ส่วนการยึดในสิ่งที่เราชอบใจก็จะทำให้เกิดทุกข์อันมีต้นเหตุมาจากความโลภ นอกจากนี้ยังจะทำให้เกิดทุกข์จากความกลัวการพลัดพรากสูญเสียสิ่งเหล่านั้นไป ทุกข์จากการต้องคอยทนุถนอม บำรุงรักษา เก็บรักษาไว้ ต้องคอยปกป้อง ห่วงใย ต้องคอยดูแลเอาใจใส่ไม่เป็นอิสระ และถ้าต้องสูญเสียสิ่งเหล่านั้นไปก็จะยิ่งเป็นทุกข์ขึ้นไปอีกมากมายนัก ส่วนการยึดในบุญนั้นก็ต้องเป็นทุกข์จากการรอคอยว่าเมื่อไรผลบุญถึงจะตอบสนอง ยึดในบาปก็เป็นทุกข์กลัวกรรมจะตามสนอง
กล่าวโดยสรุปก็คือ ยึดสิ่งไหนก็ทุกข์เพราะสิ่งนั้น ถ้าเราไม่ยึดมั่นถือมั่นสิ่งใดเลยความทุกข์ทางใจทั้งหลายก็ไม่อาจจะเกิดขึ้นกับเราได้เลย .

ทุกข์ในไตรลักษณ์ ไตรลักษณ์ก็คือสามัญลักษณะ 3 ประการคือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา คำว่าทุกข์ในไตรลักษณ์ก็หมายถึงทุกขัง ในไตรลักษณ์หรือที่เรียกว่าทุกขลักษณะนั่นเอง ซึ่งหมายถึงการที่สิ่งทั้งหลายทั้งปวงยกเว้นนิพพาน ล้วนอยู่ในสภาวะที่ถูกเหตุถูกปัจจัยทั้งหลาย บีบคั้นให้แปรปรวนไปอยู่ตลอดเวลา ไม่สามารถทนอยู่ในสภาพเดิมได้ตลอดไป (ดูเรื่องทุกขเวทนากับทุกข์ในไตรลักษณ์ ในหมวดวิปัสสนา (ปัญญา) ประกอบ)
ทุกข์ในไตรลักษณ์นี้เป็นลักษณะอันเป็นสามัญ คือเป็นเรื่องธรรมดาของสังขารธรรมทั้งหลายที่จะต้องเป็นไปอย่างนั้น เป็นกฎอันเป็นพื้นฐานของธรรมชาติ เพราะสิ่งทั้งหลายทั้งปวงล้วนเป็นเพียงผลของเหตุของปัจจัยเท่านั้นเอง ไม่มีสิ่งใดเลยที่มีอำนาจเหนือตน ตราบใดที่ยังไม่เข้าสู่สภาวะแห่งนิพพานแล้ว ก็จะต้องเผชิญกับทุกข์ในไตรลักษณ์นี้ด้วยกันทั้งสิ้น
ทุกข์ในอริยสัจ 4 ก็อยู่ในสภาวะทุกข์ในไตรลักษณ์ด้วย นอกจากนี้สุขเวทนาและอุเบกขาเวทนาก็ยังไม่พ้นจากทุกข์ในไตรลักษณ์ เพราะทั้งสุขและอุเบกขาก็ล้วนถูกเหตุปัจจัยต่าง ๆ บีบคั้นให้แปรปรวนไปอยู่ตลอดเวลาเช่นกัน

บทความคัดลอก

วันอังคารที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2556

โสฬสญาณ 16







โสฬสญาณ 16

ญาณ16 หรือ โสฬสญาณ เป็นการรวบรวมลำดับญาณขึ้นในภายหลังโดยพระอรรถกถาจารย์ เพื่อเป็นการจำแนกให้เห็นลำดับญาณหรือ ภูมิรู้ภูมิธรรมทางปัญญาที่เกิดขึ้น (เท่าทีผมได้เคยศึกษาจากพระอาจารย์ จริงๆแล้วคือ ลำดับความคิดในการ บรรลุธรรม หรือ พูดง่ายๆว่า คนที่จะบรรลุ ธรรม ณ ขณะนั้น เค้าจะต้องผ่านระดับความคิดเหล่านี้ จริงๆ ตามที่ พระพุทธเจ้าเคย กล่าวไว้จะมีเพียง โสฬสญาณ 9 แต่พระ สารีบุตร ได้ทำการจำแนกให้ละเอียด และขออนุญาติ จากพระพุทธเจ้า แล้ว กลายเป็น โสฬสญาณ 16)

 ญาณที่ 1 เรียกว่า นามรูปปริจเฉทญาณ เป็นญาณที่มีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง รูปธรรมนามธรรม คือ มองเห็นความต่างกันของธรรมชาติ 2 อย่าง คือเห็นรูปก็เป็นลักษณะธรรมชาติอย่างหนึ่ง เห็นนามก็เป็นลักษณะธรรมชาติอย่างหนึ่ง

 ญาณที่ 2 เรียกว่า ปัจจยปริคคหญาณ คือ เห็นเหตุปัจจัยของรูปนาม คือจะเห็นว่า รูปนามนี้เป็นเหตุเป็นปัจจัยซึ่งกันและกัน มีความเกี่ยวข้องเป็นปัจจัย กันเช่นขณะที่การก้าวไปๆ การคู้ การเหยียด การเคลื่อนไหวต่างๆ เป็นไปเพราะว่ามีธรรมชาติอย่างหนึ่งเป็นตัวเหตุปัจจัย คือมีจิต  จิตปรารถนาจะให้กายเคลื่อนไหว กายก็เคลื่อนไหวไป จิตปรารถนาจะยืน กายก็ยืน จิตปรารถนาจะเดิน กายก็เดิน จิตปรารถนาจะนอน กายก็นอน คือลมก็ไปผลักดันให้กายนั้นเป็นไป อย่างนี้เรียกว่า นามเป็นปัจจัยให้เกิดรูป นามคือจิตใจเป็นปัจจัยให้เกิดรูป (ที่เคยได้ฟังพระอาจารย์ ขออนุญาติเสริม ท่านกล่าวเพิ่มว่า นอกจากนี้เราควรจะคิดว่าอะไรเป็ฯสาเหตุให้เราเกิดแก่เจ็บตาย มาจาก 1.อวิชา 2.อุปทาน 3.ตัณหา 4. กรรม อวิชาคือการที่เราไม่รู็ ไม่รู้เท่าทันสิ่งต่างๆ เช่น เรารักคนๆนึงมาก ยึกติดในเค้ามาก เราไม่รู้เท่าทันกิเลสที่อยากครอบครองตัวเค้า อุปทาน การยึดติด เรายึดมั่นถือ มั่นว่าบุคคล ผู้นั้นเป็นของเราคนเดียวจะ เป็ฯของผู้อื่นไปไม่ได้ เมือเกิด คนรักนอกใจ เราก็เกิด ตัณหา ต่างๆ โกรธ แค้น หรือ อะไรก็ตามแต่ ส่งผลให้เราไปทำกรรม แล้วกรรมนี้ละที่ทำให้เราต้องมาเกิด ท่านว่า พระอรหันต์ ท่านปราศจากกรรมดี และกรรมชั่ว)

ญาณที่ 3 สัมมสนญาณ ในสมมสนญาณนี้ก็เป็นญาณที่เห็นไตรลักษณ์ คือเห็นอนิจจัง ความไม่เที่ยงของรูปนาม เห็นทุกขัง คือความทนอยู่ในสภาพเดิม ไม่ได้ของรูปนาม เห็นอนัตตา ความบังคับบัญชาไม่ได้ของรูปนาม แต่ว่าการเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ในญาณที่ 3 นี้ยังเอาสมมุติบัญญัติมาปน ยังมีสุตมยปัญญา ปัญญาที่เกิดจากการได้ฟังมา เอาจินตามยปัญญาความตรึกนึกคิดมาปนอยู่ด้วย   ญาณที่ 4 คือ อุทยัพพยญาณ ในอุทยัพพยญาณนี้ ก็แบ่งเป็น 2 ตอนเป็น ตรุณอุทยัพพยญาณ อย่างหนึ่ง กับเป็น พลวอุทยัพพยญาณ อย่างหนึ่ง คือ เป็นอุทยัพพยญาณอย่างอ่อน กับอุทยัพพยญาณอย่างแก่ ญาณ ที่ 4 อย่างอ่อน คือตรุณอุทยัพพยญาณนี้ ก็จะทำให้เกิด วิปัสสนูปกิเลสขึ้น ที่จะทำให้วิปัสสนาเศร้าหมอง วิปัสสนูปกิเลส (จริงๆวิปัสสนูกิเลสมี10ตัว และหลายตัวอาจทำให้เราเข้าใจผิดว่าเราบรรลุธรรม เรื่องนี้เกิดขึ้นใน หมู่ พระ เลยขอแถมไว้ให้ข้างล่างนะครับ) คือกิเลสที่จะทำให้วิปัสสนาเศร้าหมอง คือทำให้วิปัสสนาไม่เจริญขึ้น จะไม่ก้าวหน้า ส่วนใน ญาณที่ 4 อย่างแก่ก็จะเห็นความเกิดดับของรูปนาม มีความบริสุทธิ์ของการเห็น เห็นรูปเกิดขึ้นดับไป เกิดขึ้นดับไป ไม่ว่าจะเป็นทางตา ทางหู ทางจมูก ทางลิ้น ทางกาย ทางใจ

 ญาณที่ 5 เรียกว่า ภังคญาณ ในภังคญาณนี้จะเห็นแต่ฝ่ายดับ เห็นรูปนามนั้นดับไป ดับไปด้วยความเร็วเพราะรูปนามเกิดดับรวดเร็วถี่มาก (เวลาเราพูดถึงการดับ เราลอง พิจารณาดู เรารักแฟนเรามาก มีความสุขกับคนที่เรารักมาก เมื่อเราต้องเสียเค้าให้คนอื่น เมื่อเค้าอาจจะต้องตายจากเราไป เรารักพ่อแม่มาก แต่สักวันพ่อแม่ก็ต้องจากเราไป เรารักเงินมาก สักวันเงินเราอาจจะหมดไป เรารักชื่อเสียงเรามาก สักวันชื่อเสียงก็อาจจะหมดไป การดับลงในสิ่งต่างๆเวลาเรายึดมั่นอะไร มันไม่ได้สร้างความสุข มันมีแต่จะให้ความทุก ทุกวันนี้เรากำลังใช้ชีวิตเพื่อที่จะเจอแต่ความทุกข์ในวันจ้างหน้า ก็จะส่งให้เราไปญาณ ถัดไป)

 ญาณที่ 6 เรียกว่า ภยญาณ จะเห็นรูปนามที่มันดับไปนั้นแต่เกิด ความรู้สึกขึ้นในใจว่าเป็นภัยเสียแล้ว เห็นว่ามันเป็นภัย ก่อนนั้นเคยหลงไหล  แต่ตอนนี้รู้สึกว่าเป็นภัย

 ญาณที่ 7 อาทีนวญาณ ก็จะเกิดความรู้สึกว่าเป็นโทษ ในขณะที่เห็นรูปนามดับไป ดับไป เกิดความรู้สึกว่าเป็นโทษ นอกจากจะเห็นภัยแล้ว ยังรู้สึกว่าเป็นโทษอีก

 ญาณที่ 8 คือ นิพพิทาญาณ นิพพิทาญาณนี้จะรู้สึกเบื่อหน่าย ในเมื่อรูปนามเป็นภัยเป็นโทษมันก็รู้สึกเบื่อหน่ายไม่ได้ติดใจเลยในรูปนาม นี้ มันน่าเบื่อจริงๆ แต่ก็ไม่หนี ไม่ท้อถอย ก็ยังคงดูต่อไป แต่บางคนก็อาจจะเลิกรา เบื่อมากๆ เข้า เมื่อเพียรพยายามต่อไปก็จะขึ้นญาณที่ 9 (พระอาจารย์กล่าวว่า ต้องระวัง บางคนฆ่าตัวตายก็มี เพราะเราจะเบื่อมากจริงๆ แล้วถ้าเรายังไม่เบื่อจริงๆ ยังเบื่อๆอยากๆ เราจะไม่ผ่าน ญาณนี้ ต้องไปเดิน ญาณขึ้นมาใหม่ )

 ญาณที่ 9 มุญจิตุกัมยตาญาณ คือ มีความรู้สึกใคร่จะหนีให้พ้น เมื่อมันเบื่อแล้วก็ใคร่จะหนี มีความรู้สึกอยากจะหนีไป เหมือนบุคคลที่อยู่ในกองเพลิง  มันก็อยากจะไปให้พ้นจากกองเพลิงเหล่านี้ จากนั้นเมื่อเพียรพยายามต่อไปก็จะขึ้นญาณที่ 10

 ญาณที่ 10 ปฏิสังขาญาณ ในปฏิสังขาญาณนี้มันจะหาทางว่าทำอย่างไร ถึงจะพ้นได้ ในเมื่อตอนแรกมันใคร่จะหนี พอถึงญาณอันนี้ก็หาทางที่ จะหลุดพ้นให้ได้ เมื่อเพียรพยายามต่อไป ก็จะขึ้นถึงญาณที่ 11

 ญาณที่ 11 สังขารุเปกขาญาณ สังขารุเปกขาญาณนี้ มีลักษณะวางเฉยต่อรูปนาม คือเมื่อกำหนดรู้ หาทางหนี หนีไม่พ้น ยังไงก็หนีไม่พ้น  ก็ต้องดูเฉยอยู่ การที่ดูเฉยอยู่นี้ทำให้ สภาวจิตเข้าสู่ความเป็นปกติในระดับสูง ไม่เหมือนบุคคลทั่วไป บุคคลทั่วไปเวลาเกิดเห็น  ทุกข์เห็นโทษเห็นภัยนี้สภาวะของจิตใจจะดิ้นรนไม่ต้องการ จะกระสับกระส่ายดิ้นรน แม้แต่ในวิปัสสนาญาณก่อนหน้าสังขารุเปกขาญาณ ก็ยังมีลักษณะความดิ้นรนของจิต คือยังมีความรู้สึกอยากจะหนี อยากจะให้พ้นๆ สภาวะของจิตยังไม่อยู่ในลักษณะที่ปกติจริงๆ มันก็หลุดพ้นไม่ได้  แต่เมื่อมันดูไปจนถึงแก่กล้าแล้วไม่มีทางก็ต้องวางเฉยได้ ซึ่งในขณะที่เห็นความเกิดดับเป็นภัยเป็นโทษน่าเบื่อหน่ายอยู่อย่างนั้นมันก็ ยังวางเฉยได้ แม้จะถูกบีบคั้นอย่างแสนสาหัส แทบจะขาดใจมันก็วางเฉยได้ เมื่อวางเฉยได้มันก็จะก้าวขึ้นสู่ญาณที่ 12 (พระอาจารย์กล่าวไว้ว่า ผู้ที่จะผ่าน ญาณนี้ได้ต้องบำเพ็ญเพียรมาเพียงพอ  คนที่ผ่าน ญาณนี้ไป คือการบรรลุธรรมแล้วแน่นอน แต่จะ บรรลุเป็น พระโสดาบัน เป็น ต้น ผู้ที่จะผ่านญาณนี้ได้ ท่านว่า ต้องประกอบไปด้วย อินทรีย์ 5 พร้อม คือ สติ ปัญญา สมาธิ ศรัทรา วิริยะ อย่างสมดุล ก็จะผ่านไปได้ ปัญญา กับ ศรัทราจะต้องมีพอๆกัน ถ้า ปัญญามาจะมีคำถามไม่สิ้นสุด ถ้าศรัทรามากไป ก็จะ ไม่ใช้เหตุผลเลย ส่วน คู่ของ สมาธิ และ วิริยะ ถ้าพยายามมากไปก็จะเป็ฯเหมือน ท่านพระอานนท์ ที่พยายามเท่าไหร่ก็ไม่สำเร็จ แต่พอเอียงตัวกำลังจะนอน บรรลุธรรม ถ้า สมาธิมากไป ก็จะเอาแต่ กรรมฐานอย่างเดียว เพราะ ใครที่นั่งสมาธิ เข้าถึงระดับแล้ว จะเป็นสุขที่เหนือ กามมาสุข ก็จะนั่งสมาธิอย่างเดียวเราต้อง วิปปัสนาด้วย ท่านกล่าวอย่างนี้)

 ญาณที่ 12 อนุโลมญาณ เป็นญาณที่เป็นไปตามอำนาจกำลังของอริยสัจจ์ที่จะสอดคล้องต่อไปในโลกุตตรญาณ จากนั้นก็จะก้าวขึ้นสู่ญาณที่ 13 เรียกว่า โคตรภูญาณ

 ญาณที่ 13 โคตรภูญาณ คือญาณที่มีหน้าที่โอนโคตรจากปุถุชนก้าวสู่ความเป็นอริยะ ในขณะนั้นจะทิ้งอารมณ์ที่เป็นรูปนามไปรับนิพพานเป็นอารมณ์ แต่ว่าโคตรภูญาณยังเป็นโลกิยะอยู่ ตัวมันเองเป็นโลกิยะ แต่มันไปมีอารมณ์เป็นนิพพาน แล้วจากนั้นก็จะเกิดมัคคญาณขึ้นมา (ที่ญาณนี้ ท่านว่าจะมีปฏิหาร เกิดกับร่างกายบุคคลผู้นั้น เพราะ ร่างกายมนุษย์ ธรรมดา ไม่สามารถ รองรับความเป็น อริยะได้ เป็นการบอกให้รู้ว่าท่านบรรลุแล้วจริงๆ)

 ญาณที่ 14 มัคคญาณ มัคคญาณนี้เป็นโลกุตตรญาณ จะทำหน้าที่ประหารกิเลสระดับอนุสัยกิเลส ทำหน้าที่รู้ทุกข์ ละเหตุแห่งทุกข์ แจ้งนิโรธความดับทุกข์ เจริญตนเองเต็มที่ คือองค์มรรค 8 มีการประชุมพร้อมกัน ทำหน้าที่ละอนุสัยกิเลสแล้วก็ดับลง มีนิพพานเป็นอารมณ์

 ญาณที่ 15 ผลญาณ ผลญาณเป็นโลกุตตรญาณ เกิดขึ้นมา 2 ขณะ เป็นผลของมัคคญาณ ทำหน้าที่รับนิพพานเป็นอารมณ์ 2 ขณะ แล้วก็ดับลง (แล้วเราจะได้ โลกุตลสุข อยู่กับเราไปจนตาย)

 ญาณที่ 16 ปัจจเวกขณญาณ ญาณพิจารณา มรรค ผล นิพพาน เป็นโลกิยญาณ ญาณพิจารณา เหมือนคนที่ผ่านเหตุการณ์อะไรมา ก็จะกลับพิจารณาสิ่งที่ผ่านมา แต่ญาณนี้ พิจารณามรรคที่ตนเองได้ พิจารณาผลที่ตนเองได้ พิจารณาพระนิพพาน และถ้าคนมีหลักปริยัติ ก็จะพิจารณากิเลสอันใดที่ละไปได้แล้ว กิเลส อันใดที่ยังเหลืออยู่ และถ้าคนไม่มีหลักปริยัติก็พิจารณาแค่ มรรค ผล นิพพาน ในระหว่างที่ญาณก้าวขึ้นสู่อนุโลมญาณ โคตรภูญาณ มัคคญาณ ผลญาณ ปัจจเวกขณญาณนี้ ท่านก็อุปมาให้ฟังเหมือนกับบุคคลที่จะก้าวกระโดดข้ามฝั่ง

 แต่เมื่อกล่าวถึงวิปัสสนาญาณโดยเฉพาะ อันหมายถึงญาณที่นับเข้าในวิปัสสนา หรือญาณที่จัดเป็นวิปัสสนา จะมีเพียง 9 ขั้น หรือเรียกว่า วิปัสสนาญาณ9 นั้น เป็นการจำแนกแตกธรรม ที่จัดแสดงเน้นว่าญาณใดใน โสฬสญาณทั้ง 16 ข้างต้น ในส่วนที่เป็นวิปัสสนาหรือการปฏิบัติหรือวิธีการเรืองปัญญาในการดับ ทุกข์ กล่าวคือ ข้อ 4- 12 ตั้งแต่ อุทยัพพยานุปัสสนาญาณ ถึง สัจจานุโลมิกญาณ นั้นเอง

ข้อมูลส่วนหนึ่ง จาก หนังสือ วิปัสสนาภูมิ พระครูเกษมธรรมทัต (สุรศักดิ์ เขมรังสี)   อ้างอิงจาก http://www.dharma.in.th/   ๑.โอภาส ได้แก่ วิปัสสโนภาส เห็นแสงสว่างมากมายเต็มไปหมด บางคนเห็นห้องที่ตนนั่งอยู่สว่างไสวไปทั้งห้อง หรือสถานที่ที่ตนบำเพ็ญวิปัสสนาอยู่สว่างไสวไปทั่วบริเวณ บางทีเห็นแสงสว่างไปจนสุดสายตา ถ้าโยคีมีมนสิการไม่ดีก็จะเข้าใจผิดคิดไปว่าตนได้สำเร็จแล้ว คือบรรลุมรรค,ผลญาณแล้ว เกิดความยินดีชอบใจเป็นหนักหนา แล้วก็เลยนึกถึงบุญบารมีของตนเองว่า ตนเป็นคนมีวาสนาบารมีสูง จึงได้ประสบพบเห็นสิ่งที่คนธรรมดาสามัญไม่อาจเห็นได้ ถ้าเรียกสั้นๆคือ ใจสว่างที่เกิดขึ้นเพราะวิปัสสนา

 

๒.ญาณ ได้แก่ วิปัสสนาญาณ เกิดปัญญาในการบำเพ็ญวิปัสสนา กำหนดรูป,นาม ได้คล่องแคล่วว่องไวอย่างประหลาด ผิดกว่าแต่ก่อนซึ่งเคยกำหนดด้วยความยากลำบาก แม้จะอุตสาหะระมัดระวังก็ยังพลั้งเผลอบ่อยๆต้องตั้งใจอย่างเคร่งครัด แต่บัดนี้การกำหนดดูคล่องแคล่วว่องไวไปหมด ที่เคยทำไม่ได้ก็ทำได้อย่างสะดวกสบาย ระยะนี้ถ้ามนสิการไม่ดีก็จะเข้าใจผิดนึกไปเองว่า ตนคงสำเร็จแล้ว เพราะสามารถกำหนดได้สะดวกยิ่งนัก ถ้าเป็นอย่างนี้อาจารย์จะให้กัมมัฏฐานเพิ่มสักเท่าไหร่ก็ไม่กลัว อาจารย์ของตนตอนปฏิบัติจะกำหนดได้ดีเหมือนอย่างนี้หรือไม่หนอ คงไม่ได้แน่ๆ บางรายก็เกิดสงสัย อาจารย์จะให้กัมมัฏฐานผิดเสียแล้ว เพราะดูง่ายเกินไป ถ้าตนได้เป็นอาจารย์เมื่อไร จะต้องคิดตั้งบทกัมมัฏฐานให้แนบเนียนกว่านี้ เพราะอย่างนี้ใช้ไม่ได้ ง่ายเกินไป มีการดูถูกอาจารย์อย่างรุนแรง เพราะเกิดปัญญามากมายเสียเหลือเกิน เรียกสั้นๆคือ ปัญญาที่เกิดขึ้นเพราะวิปัสสนา

๓.ปีติ ได้แก่ วิปัสสนาปีติ รู้สึกเยือกเย็นขึ้นมาอย่างบอกไม่ถูก บางทีเกิดซาบซ่าไปทั้งตัว บางทีทำให้ตัวเบาลอยก็ได้ คือเกิดความรู้สึกตัวลอยขึ้นคืบหนึ่งบ้าง บางทีลอยไปไกลๆก็มี

ปีติมี ๕ ประการ คือ

๑. ขุททกาปีติ

๒. ขณิกาปีติ

๓. โอกกันติกาปีติ

๔. อุพเภงคาปีติ

๕. ผรณาปีติ

 

ปีติทั้ง ๕ ประการนี้ย่อมเกิดขึ้นแก่ผู้ปฏิบัติอย่างแน่นอน ถ้าโยคีมนสิการไม่ดีก็ทำให้สำคัญผิด เช่นเดียวกับวิปัสสนูปกิเลสข้อต้นๆเพราะเป็นปีติที่ไม่เคยพบพานมาก่อนเลยในชีวิต เรียกสั้นๆคือ ความอิ่มใจที่เกิดขึ้นเพราะเจริญวิปัสสนา

๔.ปัสสัทธิ ได้แก่ วิปัสสนาปัสสัทธิ เกิดความสงบทั้งกายและใจ รู้สึกเย็นไปทั้งร่าง ตัวเบา ไม่หนัก ไม่แข็งกระด้าง อ่อนสลวย ทุกขเวทนาไม่มีเลย แม้ใจก็เช่นเดียวกัน เป็นจิตสงบ จิตเบา จิตอ่อน และจิตตรง เป้นความสงบอย่างยิ่ง เสวยความยินดีอย่างที่มนุษย์ธรรมดาสามัญไม่เคยพบ มีสาธกพยานว่า

 

สูญฺญาคารํ ปวิฏฺฐสฺส สนฺตจิตฺตสฺส ภิกฺขุโน อมานุสี รตี โหติ สมฺมา ธมฺมํ วิปสฺสโต ยโต สมฺมสติ ขนฺธานํ อุทยพฺพยํ ลภเต ปีติปามุชฺชํ อมตํ ตํ วิชานตํ.

ภิกษุผู้เข้าไปอยู่เรือนว่าง เห็นแจ้งธรรมด้วยดี ย่อมประสบความยินดีที่มนุษย์ธรรมดาสามัญไม่อาจพบได้ ขณะที่ถึงอุทยัพพยญาณย่อมพบความปีติปราโมทย์ ฉะนั้นเป็นอมฤติสำหรับผู้ใดได้เห็นแจ้งอยู่ เรียกสั้นๆ คือ ความสงบทั้งร่างกายและจิตใจอันเกิดขึ้นเพราะวิปัสสนา

๕.สุข ได้แก่ วิปัสสนาสุข คือ สุขที่เกิดขึ้นในวิปัสสนา สุขชนิดนี้เป็นสุขที่ละเอียดประณีตเป็นอย่างยิ่ง ซึมซาบไปตลอดทั่วร่างกายอย่างที่ไม่เคยพบเคยเห็นมาก่อน เป็นสุขท่วมท้นหัวใจ ไม่สามารถที่จะบรรยายให้ถูกต้องได้ เพราะเป็นสุขที่มีรสล้ำลึกแปลกประหลาด เป็นสุขที่ประเสริฐกว่าความสุขธรรมดาที่มนุษย์พบเห็น สรุปว่า บรรดาความสุขทั้งหลายแล้ว อะไรจะมาสุขเท่าวิปัสสนาสุขไม่มี ฉะนั้น ถ้ามนาสิการไม่ดีก็จะทำให้โยคีเข้าใจผิดดังกล่าวมาแล้ว เรียกสั้นๆ คือ สุขอันละเอียดสุขุม มีรสล้ำลึก ซาบซ่าน อันเกิดขึ้นเพราะวิปัสสนา

๖. อธิโมกข ได้แก่ ศรัทธา คือเกิดศรัทธาขึ้นมามากมาย เป็นศรัทธาที่มีกำลังมาก เพราะจิตและเจตสิกผ่องใสเป็นอย่างยิ่งด้วยอำนาจศรัทธากล้า พาให้นึกคิดไปใหญ่โต เช่น คิดถึงคนทั้งหลายอยากให้เขาได้เข้ากัมมัฏฐานอย่างตนบ้าง เป็นต้นคนที่รักใคร่ชอบ บิดา มารดา อุปัชฌาอาจารย์ อันศรัทธาชนิดนี้มีความรุนแรงมาก ขนาดที่ว่าแม้ท่านผู้มีพระคุณเหล่านั้นได้ตายไปแล้ว ตนก็แทบจะไปขนกระดูกท่านเหล่านั้นมาปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐานเหมือนตนบ้างทีเดียว เมื่อนึกใกล้เข้ามาถึงอาจารย์ผู้ให้กัมมัฏฐานแก่ตนในปัจจุบัน ก็เกิดว่าตนได้พบเห็นธรรมะได้รับความสุขอยู่ในขณะนี้ ก็เพราะได้อาจารย์ช่วยแนะนำสั่งสอนตามแนวทางพระพุทธศาสนา ซึ่งแต่ก่อนนี้เคยเชื่อบ้าง ไม่เชื่อบ้าง แต่บัดนี้เชื่อจริงๆ ถ้าทำกุศลใดๆในภายหน้า ก็จะทำเฉพาะกุศลที่เกี่ยวกับวิปัสสนานี้ เพราะได้เห็นคุณค่าของการปฏิบัติ ถ้าโยคีผู้นั้นเป็นบรรพชิตก็เกิดคิดวางแผนการณ์สร้างมโนภาพว่า เมื่อตนสำเร็จออกจากกัมมัฏฐานไป จะต้องไปหาที่ที่เหมาะตั้งสำนักวิปัสสนากัมมัฏฐานขึ้น แล้วตั้งตัวเองเป็นอาจารย์สั่งสอนให้คนทั้งหลายได้รู้จักพระศาสนาที่ถูกต้อง ว่าประโยชน์ที่แท้จริงคือการวิปัสสนานี้เอง คนทั้งหลายยังดง่มากที่ไม่รู้จักปฏิบัติอย่างที่ตนกำลังทำอยู่นี้ เป็นที่น่าสงสาร ฉะนั้น จะต้องช่วยเขาไม่ให้หลงผิด จะได้พ้นทุกข์ เมื่อคิดเพลิดเพลินไปด้วยศรัทธาอันแรงกล้า โยนั้นก็เลยลืมมูลกัมมัฏฐานคือ การตั้งสติกำหนด ทำให้กัมมัฏฐานรั่ว คือบกพร่อง อันที่จริงความศรัทะที่จะเกิดขึ้นนี้เป็นของดีเพราะเป็นศรัทธาที่เกิดขึ้นในขณะที่จิตบริสุทธิ์ผุดผ่อง ซึ่งคนธรรมดาจะเกิดศรัทธาขนาดนี้ไม่ได้ แต่ที่จะเป็นวิปัสสนูปกิเลสก็เพราะว่า เมื่อจิตเพลิดเพลินไปด้วยศรัทธา ก็ทำให้ละเลยมูลกัมมัฏฐาน คือการตั้งสติกำหนด ทำให้เสียเวลาในการปฏิบัติวิปัสสนา และเมื่อมนสิการไม่ดี มีตัณหา,มานะ,ทิฏฐิเข้ามาประสมด้วย ก็จะทำให้การบำเพ็ญซัดส่ายยิ่งขึ้น ไม่ก้าวหน้าไปเท่าที่ควร เรียกสั้นๆคือ ศรัทธาอันมีกำลังแก่กล้า ซึ่งเกิดขึ้นเพราะวิปัสสนา

๗.ปัคคหะ ได้แก่ วิริยะ เกิดขยันขึ้นอย่างผิดปกติ พยายามในการปฏิบัติวิปัสสนาอย่างไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อย แต่ก่อนแม้อาจารย์จะคอยตักเตือนให้พยายามทำความเพียร ก็รู้สึกว่ายาก เหน็ดเหนื่อย อ่อนเพลีย จนเกือบจะตายอยู่แล้ว ซึ่งไม่มีใครอีกแล้วในโลกนี้จะเหมือนกับตน อาจารย์ก็คอยจู้จี้เคี่ยงเข็ญตลอดเวลา แต่บัดนี้ ความคิดเช่นนี้หายไปสิ้น เกิดความขยันขึ้นเป็นพิเศษ จนทำให้ตัวเองแปลกใจว่า เหตุใดตนจึงได้มีวิริยะมาก ไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อยในการปฏิบัติเช่นนี้ และเมื่อมนสิการไม่ดี ก็จะเข้าใจตนเองผิดไปว่า ได้มรรค,ผล,นิพพานแล้ว จึงเป็นวิปัสสนูปกิเลส เรียกสั้นๆคือ วิริยะ คือความเพียรอย่างแรงกล้า อันเกิดขึ้นเพราะอำนาจวิปัสสนา

๘.อุปัฏฐาน ได้แก่ สติ เกิดมีสติดีขึ้นอย่างน่าอัศจรรย์ ทำให้การกำหนดได้หมดทุกสิ่งทุกอย่าง สิ่งที่เคยกำหนดได้ยากหรือต้องขืนใจกำหนด มาบัดนี้กำหนดได้อย่างคล่องแคล่ว จนตัวเองแปลกใจว่า สติช่างดีพร้อมไปเสียทุกอย่าง ทุกขณะทุกอริยบถกำหนดได้ทั้งนั้น เพราะสติตั้งมั่นไม่โยก ไม่คลอน ไม่หวั่นไหว ไม่เผลอ ซึ่งแต่ก่อนมาไม่เคยเป็นอย่างนี้เลย ถ้ามนสิการไม่ดี ก็จะเกิดสงสัยตนผิดไปว่า ทำไมตนมีสติดีขึ้นมาอย่างที่ไม่เคยเป็นมาแต่ก่อน หรืออาจจะพบธรรมวิเศษแล้วก็ได้ เรียกสั้นๆคือ สติอันยอดยิ่ง ว่องไว ซึ่งเกิดขึ้นเพราะอำนาจวิปัสสนา

๙.อุเปกขา ได้แก่ วิปัสสนูเปกขา เกิดความวางเฉยในสังขารอารมณ์ทั้งปวง ไม่ยินดียินร้ายต่อทุกสิ่งเหมือนคนไม่มีกิเลส ไม่สะดุ้งสะเทือนต่ออารมณืทุกชนิด เป็นอุเปกขาที่มีกำลังแรงกล้า แม้จะมีอารมณ์ใดมากระทบก็ไม่หวั่นไหว วางเฉยเสียได้ทุกประการ จนตนเองก็แปลกใจในภาวะที่เปลี่ยนแปรไปเช่นนี้เป็นยิ่งนัก ถ้ามนสิการไม่ดี ก็ทำให้เข้าใจผิดคิดว่าตนเป็นพระอรหันต์แล้ว เพราะวางเฉยได้ ไม่ยินดียินร้ายอะไรเลย ความหมดกิเลสได้มรรค,ผล,นิพพานเป็นอย่างนี้เองหนอ นี้เนื่องจากมี ทิฏฐิเข้ามาแทรก และยังคิดต่อไปอีกว่า ตนมีบุญวาสนามาก ปฏิบัติไม่นานเท่าใดก็ได้มรรค,ผลง่ายๆ ไม่มีใครจะเหมือนตน นี้เนื่องจากว่า มานะเข้ามาแทรก และยังคิดต่อไปอีกว่าตนสบายแล้ว ไม่ต้องยินดียินร้ายอะไรทั้งหมดอีกต่อไป ถึงออกจากกัมมัฏฐานแล้ว ก็จะอยู่ในโลกนี้อย่างสงบไม่ต้องรัก ไม่ต้องชัง ไม่ต้องดีใจ เสียใจให้วุ่นวาย เหมือนคนทั้งหลายที่กำลังเป็นกันอยู่ นี้เรียกว่า ตัณหาเข้าแทรก

รวมความว่า อุเปกขานี้แท้จริงเป็นของดี แต่ถ้ามนสิการไม่ดี มีตัณหา,มานะ,ทิฏฐิเข้ามาแทรก ก็จะกลายเป็นวิปัสสนูปกิเลสไปเลย เรียกสั้นๆคือ มีความวางเฉยในสังขารและอารมณืทั้งปวง ซึ่งเกิดขึ้นด้วยอำนาจวิปัสสนา

๑๐.นิกันติ ได้แก่ วิปัสสนานิกันติ คือ ความใคร่ ความต้องการ ยินดี ติดใจ ขอบใจในคุณพิเศษทั้ง ๙ ประการ คือ ตั้งแต่ โอภาส จนถึง อุเปกขา ความสำคัญของวิปัสสนูปกิเลส ข้อนี้ จะได้อธิบายในบทหน้า เรียกสั้นๆคือ ความพอใจ ความต้องการ ความยินดี ความติดใจ ความชอบใจ ในคุณวิเศษทั้ง ๙ ประการและอารมณ์ทั้งปวงที่เกิดขึ้นด้วยอำนาจ วิปัสสนา

 

วิปัสสนูปกิเลสทั้ง ๑๐ ประการนี้ ย่อมเกิดขึ้นได้แก่โยคีผู้ปฏิบัติทุกคน เมื่อบรรลุถึง อุทยัพพยญาณอย่างอ่อน ฉะนั้น พอถึงระยะนี้ วิปัสสนาจารย์พึงคอยตักเตือนให้สติ อย่าให้โยคีหลงผิดอยู่ในวิปัสสนูปกิเลสเป็นอันขาด ควรดุก็ต้องดุ ควรว่าก็ต้องว่า อย่าได้เกรงใจเลย ต้องมุ่งประดยชน์เบื้องหน้าของโยคีเป็นสำคัญ

มีข้อที่ควรทราบอีกอย่างหนึ่งคือ วิปัสสนูปกิเลสบางข้อ มีสภาวะคล้ายๆกับ โคตรภูญาณ,มรรคญาณ,ผลญาณ ความคล้ายๆกันเป็นเหตุทำให้เข้าใจผิด จะได้กล่าวถึงในข้างหน้าเมื่อถึงสภาวะจริงๆของญาณนั้นๆ มิใช่แต่โยคีจะเข้าใจผิด แม้แต่อาจารย์เองก็อาจเข้าใจผิดไปด้วย คือ เมื่อโยคีเล่าให้ฟังถึงสภาวะที่เกิดขึ้นกับตน ซึ่งคล้ายสภาวะของ โคตรภูญาณ,มรรคญาณ,ผลญาณเป็นอย่างยิ่ง อาจารย์มิได้พิจรณาให้ดี ไม่รอบคอบ ยินดีว่า ศิษย์ของตนได้บรรลุถึงผลสูงสุดของการปฏิบัติแล้ว จึงตัดสินใจให้โยคีบุคคลนั้นเลิกปฏิบัติ โดยไม่คำนึงถึงว่าระยะที่แล้วลูกศิษย์ของตนได้ผ่านญาณอะไรมาบ้างแล้ว และจะต้องผ่านญาณใดอีกต่อไปอีก ไม่ได้สอบสวนผลลำดับญาณให้ถูกต้อง ด่วนตัดสินง่ายๆเช่นนี้เป็นอันตรายแก่โยคีผู้ปฏิบัติเป็นอย่างยิ่ง เพราะเป็นการดับมรรคดับผลโดยตรงทีเดียว ฉะนั้น วิปัสสนาจารย์พึงระวังวิปัสสนูปกิเลสนี้ให้มาก เพราะเคยทำให้ทั้งศิษย์ทั้งอาจารย์พากันกอดคอตกลงไปในห้วงเหวแห่งความเข้าใจผิดมามากต่อมากแล้ว รวมความว่า ญาณที่ ๔ คือ อุทยัพพยญาณนี้ มี วิปัสสนูปกิเลสเกิดขึ้นอย่างแปลกประหลาดมหัศจรรย์ โยคีมากคนก็พูดมากอย่างตามอาการต่างๆของวิปัสสนูปกิเลสนั้น แต่ข้อสำคัญต้องให้ได้ลักษณะ คือ รูป,นามเกิดดับเร็วๆก็เป็นอันใช่ อุทยัพพยญาณ อย่างแน่นอน

 


 

Twitter Delicious Facebook Digg Stumbleupon Favorites More